จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
สิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบคือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย เป็นตัวจักรสำคัญในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบ จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย , จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ได้ประโยชน์อย่างน้อย 2 ประการ คือ การบำบัดน้ำเสีย ( ใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ ) ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย และการกำจัดกลิ่นหรือการดับกลิ่น ใช้ในบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็นหรือระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่น้ำเริ่มเน่าเสีย จะมีกลิ่นหอมทันทีที่เริ่มใช้งาน ตอบโจทย์การบำบัดน้ำเสีย & กำจัดกลิ่นน้ำเน่าเหม็นในน้ำเสียในเวลาเดียวกัน จุลินทรีย์คืออะไร ? จุลินทรีย์ ( Micro-organism ) หรือจุลชีพ หรืออีกชื่อคือแบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กๆไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตาเปล่า เป็นสัตว์เซลล์เดียว มีทั้งประเภทให้ประโยชน์ ให้โทษ และเป็นกลาง จุลินทรีย์ในโลกนี้มีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน การดำรงชีพมีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน แบ่งตามคุณลักษณะมีอยู่ด้วยกัน 3 กลุ่มดังต่อไปนี้ .- 1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ให้ประโยชน์ต่อพืชและสัตว์ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10 % ( ชนิดใช้ออกซิเจน + ชนิดไม่ใช้ออกซิเจน ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ให้ประโยชน์ต่อพืชและสัตว์ในหลายๆด้าน จุลินทรีย์ที่อยู่ในนมเปรี้ยวก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ มีการนำมาใช้ประโยชน์ทั้งเป็นยาและอาหาร การหมักปุ๋ย ฯลฯ 2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษหรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่สร้างปัญหาก่อเชื้อโรคต่างๆ ต่อพืชและสัตว์ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนเช่นกัน กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10 % ของจุลินทรีย์โดยรวมทุกๆชนิด อาหารบูดเน่า แผลติดเชื้อ แผลเน่าก็มาจากจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ติดเชื้อแบคทีเรียก็คือจุลินทรีย์กลุ่มนี้นั่นเอง 3. กลุ่มจุลินทรีย์ที่เป็นกลาง ซึ่งเข้าร่วมงานกับจุลินทรีย์กลุ่มใดก็ได้ใน 2 กลุ่มข้างต้น มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติประมาณ 80 % มากที่สุดในบรรดากลุ่มจุลินทรีย์ทั้งหมดในธรรมชาติ ( ตามแบบจำลองด้านบน ) ( ข้อแนะนำสำหรับการบำบัดน้ำเสีย และ ระบบบำบัดน้ำเสีย ) ปัญหาของการบำบัดน้ำเสีย จุดที่ยากและสลับซับซ้อนมากที่สุดก็คือ ปัญหาทางด้านเทคนิคในระบบ ทั้งการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีหลายๆส่วนที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน เช่น ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากอะไร? ไม่ผ่านกี่ค่า ? แต่ละค่าต้องแก้ไขอย่างไร ? ปรับระบบอย่างไรเพื่อให้ระบบมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย? ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งต้องใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ ไม่ใช่เพียงแค่การใช้จุลินทรีย์บำบัดแล้วก็จบเพียงเท่านั้น ปัญหาทางด้านเทคนิคของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย การปรับลดบางค่า หรือการเพิ่มบางค่าในระบบบำบัดจะพบบ่อยๆ ซึ่งต้องอาศัยผู้ที่รู้ลึกและรู้จริงเท่านั้น จุลินทรีย์เกี่ยวข้องอะไรกับการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย ? บรรดาของเสียทั้งหลายทั้งมวลบนโลกใบนี้ ซึ่งรวมทั้งน้ำเสียและของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ( กลุ่มที่มีประโยชน์กลุ่มที่ 1 ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายมีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ในน้ำเสียจะมีสิ่งปนเปื้อนและสิ่งสกปรกที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์แร่ธาตุต่างๆเจือปนอยู่ในน้ำเสีย สิ่งสกปรกที่เป็นมลสารทั้งหลายเหล่านี้จะถูกย่อยสลายให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลงเรื่อยๆจนสุดท้ายของวัฎฎจักรการย่อยสลายสสารเหล่านี้จะแปรเปลี่ยนรูปไปเป็น พลังงาน + น้ำ + CO2 ตามภาพจำลองสมการด้านล่าง เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เพื่อจัดการบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้น จึงต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่มีประโยชน์นี้ ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลาย ของเสียต่างๆคงล้นโลกไปนานแล้ว ดังนั้น ในการบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งและทุกๆระบบจะขาดซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้โดยเด็ดขาด
ภาพบนเป็นภาพจำลองของปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งจะแปรเปลี่ยนสภาพของเสียที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ไปเป็น น้ำ + พลังงาน + CO2 ( ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด ์ ) ของเสียต่างๆในโลกนี้ไม่ล้นโลกก็มาจากฝีมือของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียนี้เอง จุลินทรีย์รักษ์โลกก็คือจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้นี่เอง ช่วยให้ขยะไม่ล้นโลก ช่วยให้น้ำเสียไม่ล้นโลก ช่วยลดมลภาวะและมลพิษในสิ่งแวดล้อม รักษาสิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ( ย่อยสลายของเสีย ) จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียยังแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อยด้วยกันตามลักษณะการดำรงชีพดังต่อไปนี้ .- 1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ขาดออกซิเจนไม่ได้ ต้องใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ รวมถึงใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีอยู่กระจัดกระจายอยู่ทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ 2. กลุ่มจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ( Anaerobic Bacteria ) ซึ่งก็มีหลากหลายสายพันธุ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ กลุ่มจุลินทรีย์ที่จะแปรสภาพย่อยสลายของเสียต่างๆทั้งหลายทั้งปวง ต้องเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น ( ทั้งกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10% จุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่บำบัดน้ำเสียหรือย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จะเห็นได้ว่าระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ ( ทุกๆระบบ ) ออกแบบเพื่อรองรับการดึงออกซิเจนเข้าไปเติมในระบบบำบัด ( เติมในบ่อบำบัด ) เพื่อต้องการให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักมารวมกลุ่มเจริญเติบโตขยายเซลล์ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆ ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายยิ่งมาก ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียก็เกิดขึ้นมาก กากตะกอนของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะเหลือน้อยลงหรือลดลงตามศักยภาพการย่อยสลายของจุลินทรีย์ แต่ในความเป็นจริงแล้วเราไม่สามารถคอนโทรลหรือควบคุมจำนวนหรือปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนให้ได้ตามที่ต้องการในบ่อบำบัดน้ำเสีย ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในแต่ละช่วงเวลา อาจจะมีปริมาณมากเพียงพอกับการย่อยสลายของเสีย หรืออาจจะมีน้อยกว่าปริมาณของเสีย แต่ส่วนใหญ่ของระบบบำบัดน้ำเสียจะมีปัญหาปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดบ่อยๆ ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ในประเทศไทยจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( Activated Sludge ) ระบบบำบัดชนิดนี้มีจุดอ่อนหลายจุดด้วยกัน ถ้าการบริหารจัดการดูแลและบำรุงรักษาไม่ดีพอระบบล้มเหลวได้ง่ายๆ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าหรือหลายๆค่าอาจไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด จะเห็นได้ว่าจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะควบคุมค่อนข้างยาก ( ควบคุมไม่ได้ตามที่ต้องการ ) ถ้าออกแบบสิ่งแวดล้อมของระบบบำบัดไม่เหมาะสมกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตของมันก็จะมีปัญหาระบบบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียไม่ทัน ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์เป็นประจำ นี่คือเรื่องราวของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย การสร้างจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย อย่างที่กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักค่อนข้างควบคุมได้ยากและเพิ่มปริมาณไม่ได้ตามที่เราต้องการ มันจะอยู่แบบกระจัดกระจายตามดิน น้ำ อากาศ ซึ่งควบคุมได้ยาก ดังนั้น จึงมีการคิดค้นสังเคราะห์กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในด้านการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่สามารถควบคุมและเพิ่มปริมาณความหนาแน่นของจุลินทรีย์ได้ตามที่เราต้องการ สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ในห้องปฏิบัติการ นั่นก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มนี้สามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อมในสภาวะไร้ออกซิเจนหรือมีออกซิเจนก็ได้ ทำหน้าที่ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียได้เหมือนกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน จึงมีการนำมาทดแทนและเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในระบบบำบัดน้ำเสียทั่วๆไปทีมีปัญหาในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ ) จึงหมดปัญหาในการควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้ เราสามารถสร้างและสังเคราะห์จุลินทรีย์ย่อยสลายขึ้นมาทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ความสำคัญของจุลินทรีย์ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียในทุกๆระะบบบำบัดน้ำเสีย ในการบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งและทุกๆระบบ ไม่ว่าน้ำเสียที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นมา และไม่ว่าระบบบำบัดน้ำเสียนั้นๆจะลงทุนมากหรือลงทุนน้อยเพียงใดก็ตาม ทุกๆระบบที่สร้างขึ้นล้วนต้องใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งสิ้นในการบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ถึงแม้ในบางครั้งอาจใช้สารเคมีเข้าร่วมบำบัดด้วยในบางกรณี แต่กระบวนการย่อยสลายขั้นสุดท้ายก็มาจบลงที่จุลินทรีย์ย่อยสลายเหมือนเดิม น้ำเสียที่เกิดขึ้นในทุกๆแห่งล้วนต้องอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆ รวมถึงการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก็ต้องอาศัยจุลินทรีย์ทั้งสิ้น ซึ่งเท่ากับจุลินทรีย์ย่อยสลายเหล่านี้มีคุณประโยชน์ต่อโลกใบนี้ ช่วยพิทักษ์และรักษาไม่ให้ของเสียและน้ำเสียล้นโลกมาจนถึงปัจจุบันนี้ ลดมลพิษและมลภาวะให้กับโลก รักษาสิ่งแวดล้อม กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไปมีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน แต่พอจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้ 1. จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดใช้อากาศออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพ ( Aerobic Bacteria ) 2. จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพ ( Anaerobic Bacteria ) จะเห็นได้ว่าจุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้จะทำหน้าที่บางอย่างคล้ายๆกัน นั่นก็คือ การทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้ดีเหมือนกัน ซึ่งสามารถนำมาทดแทนกันได้ เพื่อให้การย่อยสลายของเสียในน้ำเสียเป็นไปอย่างต่อเนื่องในบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย ประเภทของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ 1. การบำบัดน้ำเสียแบบใช้อากาศออกซิเจน (Aerobic wastewater treatment) เป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียสำหรับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มนี้ถ้าไม่มีออกซิเจน ( ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ) ก็ไม่สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพในน้ำเสียนั้นๆได้ น้ำก็จะเน่าเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตได้ทางกายภาพและเช็คค่า BOD 2. การบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้อากาศออกซิเจน (Anaerobic wastewater treatment) เป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียสำหรับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้อากาศออกซิเจนในการดำรงชีพและในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆ ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ( ค่า DO ) ไม่มีความจำเป็นสำหรับจุลินทรีย์กลุ่มนี้ (ไม่มีการดึงออกซิเนในน้ำเสียไปใช้ ) ดังนั้น ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียมีปริมาณเท่าใดก็ยังคงมีปริมาณไม่ลดลง ในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่ง จากระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบจะเกี่ยวข้องกับจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งสองกลุ่มนี้เป็นหลัก ถ้าขาดหรือปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ( ในทั้งสองกลุ่มนี้ ) แล้ว น้ำเสียทั้งหมดก็จะไม่ได้รับการบำบัดให้เป็นน้ำดี น้ำเสียและของเสียต่างๆคงล้นโลกใบนี้ไปนานแล้ว นี้คือ กระบวนการต่างๆในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้จุลินทรีย์แบบคร่าวๆ ( ชนิดใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ) จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม Kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียต่างๆและการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายในน้ำเสีย ( Anaerobic Bacteria ) ไม่ว่าในน้ำเสียนั้นๆจะมีหรือไม่มีออกซิเจนก็ตาม จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียได้ทันที ซึ่งจะแตกต่างไปจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic Bacteria ) ซึ่งจะขาดออกซิเจนไม่ได้โดยเด็ดขาด เหตุผลที่ต้องเติมอากาศลงในบ่อบำบัดน้ำเสียก็เพื่อการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนนี่เอง จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถทำงานย่อยสลายของเสียได้ทั้งในสภาวะไร้อากาศและมีอากาศ และสามารถทำงานแบบร่วมกัน ( ย่อยสลายของเสีย ) กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนได้ดี และมีคุณสมบัติพิเศษอีกประการหนึ่ง นั่นก็คือ การกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ โดยเฉพาะกลิ่นที่เกิดจากสารอินทรีย์ทั้งหลาย ( ทั้งพืชและสัตว์ ) ซึ่งคุณสมบัติข้อนี้จะไม่มีในกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จุลินทรีย์หอมคาซาม่าช่วยทั้งเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้มากขึ้นและเร็วขึ้น ส่งผลให้การย่อยสลายของเสียในน้ำเสียมีประสิทธิภาพมากขึ้นตามไปด้วย สามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบในประเทศไทย เสริมจุดด้อยของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศที่มีปัญหาปริมาณจุลินรีย์ย่อยสลายมีน้อย การเติมอากาศได้ไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด เครื่องเติมอากาศเสียหรือไม่มีเครื่องเติมอากาศเลย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเพิ่มประสิทธิภาพและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในจุดใด ? เนื่องจากจุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีคุณสมบัติในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียเหมือนกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบออกแบบมาเพื่อต้องการดึงกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าระบบให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียในบ่อบำบัดที่สร้างขึ้นมา ระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( มากกว่า 90% ) ระบบบำบัดแบบเติมอากาศจะดึงเอาจุลินทรีย์ย่อยสลายในธรรมชาติมาใช้งานย่อยสลายของเสียต่างๆ แต่ไม่สามารถกำหนดหรือควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายให้มีมากเพียงพอกับปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงส่งผลให้ของเสียต่างๆบางส่วนในน้ำเสียนั้นๆถูกย่อยสลายได้ไม่หมด ยังคงมีของเสียส่วนหนึ่งตกค้างในระบบบำบัดและผ่านไปยังบ่อพักน้ำทิ้งเพื่อเตรียมปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์อยู่บ่อยๆและเป็นประจำ จะด้วยข้อจำกัดของระบบบำบัดหรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาเพิ่มประสิทธิภาพกำลังการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( ช่วยเพิ่มการย่อยสลายของเสีย ) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียให้เพิ่มขึ้นหรือมากขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง เป็นการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ถือว่าเป็นการบำบัดซ้ำหรือการย่อยสลายซ้ำ ( Double Treatment ) ส่งผลให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้น เป็นปฏิกิริยาบำบัด 2 ชั้น หรือ 2 ขั้นตอนตามภาพจำลองด้านล่าง ซึ่งจะส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์มากหรือน้อยได้ตามความต้องการของผู้ใช้ กรณีที่ของเสียหรือน้ำเสียมีปริมาณมากก็สามารถเติมมากได้ตามความต้องการ เพื่อให้สมดุลกับปริมาณน้ำเสียและของเสียที่เกิดขึ้นจริง การบำบัดน้ำเสียก็จะสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ภาพบนเป็นภาพจำลองกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( บ่อที่ 2 ) และ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนบ่อที่ 1 ) จะเห็นได้ว่าปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียจะเกิดขึ้น 2 ครั้งหรือ 2 จุด ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศทั่วๆไป ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในบ่อเติมอากาศเพียงบ่อเดียวเท่านั้น ( นอกจากมีการเสริมบ่อเติมอากาศเพิ่มขึ้น ) ภาพบนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในน้ำเสียจะเกิดขึ้นตั้งแต่บ่อแรก ( เติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าลงในบ่อแรก ) ก่อนที่จะส่งไปย่อยสลายต่ออีกครั้งในบ่อที่ 2 ( บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักรอย่อยสลายของเสียที่เหลือในน้ำเสียที่ส่งมาจากบ่อแรก ส่งผลให้เกิดการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียซ้ำ ( Double Treatment ) ทำให้ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียทำได้ดีมากขึ้น ของเสียที่เป็นกากตะกอนส่วนเกินในบ่อสุดท้ายเหลือน้อย ( Excess Sludge ) นำไปกำจัดทิ้งหรืออาจนำกลับไปบำบัดซ้ำอีกครั้งหรือหลายๆครั้งได้ ซึ่งที่สุดของการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายจะได้ผลผลิตตามสมการจำลองด้านล่าง
เราคือ ผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียโดยตรง ไม่ผ่านตัวแทน ราคาจุลินทรีย์ที่เราจำหน่ายเป็นราคาผู้ผลิต จุลินทรีย์ของเราเป็นชนิดเข้มข้นสูง ไม่เก่าเก็บ ประการสำคัญคือมีกลิ่นหอมย่อยสลายของเสียได้เป็นอย่างดี เหมาะสำหรับใช้บำบัดน้ำเสียที่เกิดจากสารอินทรีย์ เป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลายของเสียหรือน้ำเสีย ไม่ดึงออกซิเจนในน้ำมาใช้ในการย่อยสลายของเสีย จึงทำให้น้ำมีออกซิเจนอย่างเพียงพอ ( กรณีที่ระบบมีการเติมอากาศออกซิเจนอยู่แล้ว ) ใช้ในการบำบัดน้ำเสียได้ประโยชน์อย่างน้อย 2 อย่างขึ้นไปคือ การบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย และการกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าประกอบไปด้วยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลายกลุ่มและหลากหลายสายพันธุ์ การสังเคราะห์จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพมารวมอยู่ในที่เดียวกัน มีจุลินทรีย์รวมอยู่ 5 แฟมิลี่ 10 จีนัส 80 สปีชีส์ เพื่อนำไปใช้งานแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ ผลิตจากหัวเชื้อของจุลินทรีย์ต้นฉบับโดยตรง ไม่มีการผลิตหมักจากพืชผักใดๆ การบำบัดน้ำเสียไม่ควรเอาน้ำหมักชีวภาพ ซึ่งหมักจากพืชผักชนิดต่างๆ นำไปบำบัดน้ำเสีย เพราะจะทำให้ค่า BOD, COD, SS สูง น้ำจะยิ่งเสียมากขึ้นกว่าเดิม น้ำหมักชีวภาพจะมีปริมาณความหนาแน่นของจุลินทรีย์ที่น้อยกว่า ซึ่งเหมาะสำหรับนำไปใช้เป็นปุ๋ยบำรุงพืชและบำรุงดินในการเกษตรกรรม ขนาดบรรจุจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียของเรา มีขนาดบรรจุขนาดเดียว คือ แกลลอนขนาด 20 ลิตร จัดส่งทั่วประเทศฟรีๆ
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น รู้ลึกและรู้จริงในเรื่องการบำบัดน้ำเสีย ปรึกษาเราได้ที่นี่เพียงแห่งเดียวเท่านั้น ลูกค้าที่สั่งซื้อจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจากเราทุกๆท่านจะได้รับสิทธิ์ในการขอคำปรึกษาและให้คำแนะนำฟรีๆตลอดไป ได้ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น ( โปรดระวังของลอกเลียนแบบจากที่อื่น ) ทำไมต้องใส่จุลินทรีย์ลงในบ่อบำบัดน้ำเสีย? หรือทำไมต้องเติมจุลินทรีย์ลงในบ่อบำบัดน้ำเสีย? เพราะอะไร ไม่เติมจุลินทรีย์ได้ไหม? ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นโดยวิธีชีวภาพบำบัด ( ใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น ) ซึ่งไม่ใช่การกลบกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเหมือนกรณีการใช้สารเคมีกลบกลิ่น ในบรรดากลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายที่เกิดจากสารอินทรีย์ล้วนต้องใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดทั้งสิ้น ซึ่งเป็นกฎธรรมชาติบำบัดโดยตรง ผู้นำจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น ผู้นำจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น เจ้าแรกและมีเพียงเจ้าเดียวในประเทศไทย ใช้แล้วกลิ่นหอมทันที เราได้พัฒนาให้จุลินทรีย์มีกลิ่นหอม ซึ่งเหมาะกับการนำไปใช้งานกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลาย ถ้าท่านต้องการจุลินทรีย์ไปดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ที่มีกลิ่นหอมจริงๆ คิดถึง.....จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นอันดับแรก ที่นี่...ขายจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น ( ไม่พึงประสงค์ ) จำหน่ายจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น ( ไม่พึงประสงค์) ซึ่งกลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นต้องมีที่มาหรือสาเหตุมาจากอินทรีย์วัตถุเท่านั้น ( ไม่ใช่สารเคมี ) ถ้าใช้จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นที่เกิดจากสารเคมี ในบางกรณีอาจส่งผลให้จุลินทรีย์ตายได้ เพราะจุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะถ้าสารเคมีนั้นๆมีฤทธิ์เป็นกรดหรือเป็นด่างที่มีฤทธิ์ทำลายล้างสูง ยิ่งเป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์โดยตรง แต่ถ้าสารเคมีนั้นๆไม่มีคุณสมบัติหรือมีฤทธิ์ทำอันตรายต่อจุลินทรีย์ก็สามารถอนุโลมใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นได้ แต่อาจจะไม่ตรงจุดตรงประเด็น การดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ต้องไม่ใช่การกลบกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเหมือนกรณีการใช้สารเคมีกลบกลิ่น กลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายบนโลกใบนี้ ส่วนใหญ่มาจากอินทรีย์วัตถุที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ขึ้นมา มีทั้งมาจากธรรมชาติสร้างขึ้นมาและมนุษย์สร้างขึ้น แต่กลิ่นส่วนใหญ่จะมาจากกิจกรรมของมนุษย์สร้างขึ้น ถ้ากลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นๆมีที่มาจากสารอินทรีย์ก็กำจัดด้วยจุลินทรีย์บำบัดกลิ่น แต่ถ้ากลิ่นนั้นมาจากสารเคมีก็ให้ใช้สารเคมีกำจัดกลิ่นนั้นๆ ตามที่มาหรือสาเหตุของกลิ่น เหตุและผลของการเติมหรือใส่จุลินทรีย์ลงไปในบ่อบำบัดน้ำเสียมีดังนี้ 1. เนื่องจากในบ่อบำบัดน้ำเสียมีปริมาณของเสียที่เป็นของแข็งและน้ำที่เน่าเสียปริมาณมาก แต่ในขณะเดียวกันจุลินทรีย์ที่อยู่ตามธรรมชาติในน้ำเสียเพื่อย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อย ดังนั้น จึงเกิดกลิ่นเน่าเหม็นเกิดขึ้นในบ่อบำบัดน้ำเสีย เนื่องจากจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงมีความจำเป็นต้องเพิ่มหรือเติมจุลินทรีย์ลงไปในบ่อบำบัดน้ำเสีย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ผลของการเติมจุลินทรีย์หรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ลงไปในบ่อบำบัดน้ำเสียจะส่งผลในการดับกลิ่นเน่าเหม็นหรือกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสีย เนื่องจากการย่อยสลายและบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพมากขึ้น จุลินทรีย์มีมากขึ้นการย่อยสลายของเสียต่างๆทำได้ดีมากขึ้น จึงส่งผลทำให้กลิ่นเน่าเหม็นลดลง นี่คือผลที่ได้รับหรือประโยชน์ที่ได้รับจากการเติมจุลินทรีย์ลงไปในบ่อบำบัดน้ำเสีย ซึ่งจะได้รับประโยชน์ทั้งการย่อยสลายของเสีย บำบัดน้ำเสียและการดับกลิ่นเน่าเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียในเวลาเดียวกัน ลำพังจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ( จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัดน้ำเสีย ) อาจไม่เพียงพอต่อปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริงในบ่อบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะน้ำเสียที่เข้าขั้นวิกฤตมาก ปริมาณออกซิเจนในน้ำเสียมีน้อยมากๆจึงส่งผลให้ไม่มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเพียงพอในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ทางออกในการแก้ปัญหาเรื่องการขาดแคลนจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและน้ำเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียก็คือ การสังเคราะห์จุลินทรีย์ขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน นั่นก็คือ จุลินทรีย์อีเอ็ม ซึ่งเป็นกลุ่มของจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย เป็นการทำหน้าที่ทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ซึ่งทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียและบำบัดน้ำเสียได้ดีเช่นเดียวกัน จะเห็นได้ว่า ถ้ามีการเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์อีเอ็มเข้าไปในระบบบ่อบำบัดน้ำเสีย ซึ่งเท่ากับว่าในบ่อบำบัดน้ำเสียมีทั้งกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) จะส่งผลดีต่อระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ถึงแม้ในบางครั้งในน้ำเสียจะมีปริมาณออกซิเจนน้อยหรือลดลงมาก ( เพราะมีน้ำเน่าเสียมาก ) แต่ยังคงมีกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มที่ไม่ใช้ออกซิเจนทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียทำหน้าที่ทดแทน ( กรณีที่มีการเติมจุลินทรีย์อีเอ็มลงในบ่อบำบัดน้ำเสียอย่างต่อเนื่อง ) ของเสียทุกๆชนิดที่เป็นสารอินทรีย์จะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทั้งสิ้น ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติและมีการสังเคราะห์ขึ้นจากธรรมชาติ ( ทั้งกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ) การเติมจุลินทรีย์ลงในระบบบำบัดน้ำเสีย ส่วนใหญ่จะเป็นบ่อปูนหรือบ่อดินที่เป็นบ่อลากูน ส่วนระบบบำบัดน้ำเสียแบบจานหมุน ( AS ) จะนำจุลินทรีย์ภายนอกไปใช้ก็ต่อเมื่อระบบมีปัญหาไม่ทำงานหรือล้มเหลวเสียรอการซ่อม ดังนั้น จึงต้องเติมจุลินทรีย์เข้าไปทดแทน เพื่อให้การย่อยสลายและบำบัดของเสียดำเนินการต่อไปและต่อเนื่อง การเติมจุลินทรีย์ลงไปในบ่อบำบัดน้ำเสียควรเติมอย่างต่อเนื่องหรือไม่? คำตอบคือ ถ้าไม่มีน้ำเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียอีกต่อไปก็ไม่จำเป็นต้องเติมจุลินทรีย์ แต่ถ้าตราบใดที่เกิดน้ำเสียขึ้นอย่างต่อเนื่องในบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆ ต้องเติมจุลินทรีย์เพื่อเข้าไปย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ในบ่อบำบัดน้ำเสียทุกๆบ่อ ควรมีเครื่องเติมอากาศหรือเครื่องเติมออกซิเจนในบ่อบำบัดน้ำเสีย เพื่อช่วยเพิ่มปริมาณออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนจะดึงออกซิเจนที่เติมลงไปนำไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ถ้าปราศจากออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียแล้ว กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาก็จะทำงานหรือย่อยสลายของเสียไม่ได้ ก็จะทำให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็นขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ให้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียและการดับกลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็น จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นประเภทใดได้บ้าง? จุลินทรีย์หอม-kasama ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ ( สารที่มาจากพืชและสัตว์ ) 2. กลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นส้วม กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำ 3. กลิ่นเหม็นจากปัสสาวะและอุจจาระทั้งคนและสัตว์เลี้ยงทุกชนิด 4. กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสีย ที่เกิดจากการเก็บของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสียทำให้เกิดกลิ่นเน่าเหม็นขึ้นมา 5. กลิ่นคาวเลือดหรือคาวปลาในโรงงานเชือดไก่ เชือดสุกร หรือโรงงานเชือดปลา เป็นต้น 6. กลิ่นจากบ่อขยะ หรือกลิ่นจากถังขยะที่ส่งกลิ่นเหม็นฟุ้งกระจายไปทั่วบริเวณ 7. กลิ่นเหม็นจากท่อระบายน้ำทิ้ง กลิ่นเหม็นจากน้ำที่เน่าเสีย 8. กลิ่นเน่าเหม็นจากไขมัน จากบ่อดักไขมันตามร้านอาหารหรือโรงอาหาร เป็นต้น 9. กลิ่นเหม็นจากการหมักพืชและสัตว์ 10. กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่นอกเหนือไปจากที่กล่าวมาทั้งหมด กลิ่นใดที่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าดับไม่ได้หรือกำจัดกลิ่นไม่ได้ ? กลิ่นที่เกิดขึ้นจากสารเคมีจำพวกกรดหรือด่างที่มีฤทธิ์ทำลายหรือกัดกร่อนสูง เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) เจ้าแรกและเจ้าเดียวในประเทศไทย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นจุลินทรีย์ที่เราจัดทำขึ้นตามความต้องการของลูกค้าโดยตรง ซึ่งลูกค้าที่มีปัญหาห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น ส้วมส่งกลิ่นแรง ต้องการจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำที่มีกลิ่นหอม จุลินทรีย์หอมเป็นจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียจากธรรมชาติที่สังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อวัตถุ ประสงค์ดับกลิ่นห้องน้ำ ห้องสุขาหรือห้องส้วม และบำบัดน้ำเสียโดยเฉพาะ โดยทั่วไปจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจะมีกลิ่นฉุนออกเปรี้ยว แต่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเราจะมีกลิ่นหอม เหมาะใช้งานดังต่อไปนี้.- - ดับกลิ่นห้องน้ำในบ้าน โรงแรม คอนโดมิเนี่ยม อพาร์ทเม้นท์ เกสเฮ้าส์ ออฟฟิศ ฯลฯ - ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น, เติมจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะ, บำบัดน้ำเสีย , ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น - ทำความสะอาดห้องน้ำ ทำความสะอาดพื้นห้องน้ำที่มีกลิ่น - บำบัดน้ำเสียในโรงงาน บำบัดน้ำเสียในอาคารตึกสำนักงาน สถานประกอบธุรกิจทั่วๆไป - ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยงหรือทำความสะอาดสัตว์เลี้ยง - ดับกลิ่นฟาร์มปศุสัตว์ ( กำจัดกลิ่นมูลสัตว์ทุกชนิด ) จุลินทรีย์หอมของเราจัดทำขึ้นตามความต้องการของลูกค้า ที่ต้องการจุลินทรีย์ที่มีกลิ่นหอม การค้นหาเราใน Google.co.th โดยใช้ คีย์เวิร์ด หรือ คำ ดังต่อไปนี้ .- 1. จุลินทรีย์หอม-kasama 2. จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( สำหรับภาษาไทย ) 3. จุลินทรีย์รามอินทรา ( จุลินทรีย์ของเรามีที่ตั้งอยู่ถนนรามอินทรา ) 4. จุลินทรีย์บางกอก ( จุลินทรีย์ร้านบางกอกโปรดักส์ ) คีย์เวิร์ด 1 - 4 เป็นคีย์เวิร์ดตรงของเราในการเข้าสู่เว็บไซต์ของทางร้าน (Bangkokshow.com ) มีปัญหาบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ บำบัดน้ำเสียในสถานประกอบการทุกแห่ง บำบัดน้ำเสียในตึกอาคารสำนักงานทุกๆที่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เข้มข้นสูง ไม่เก่าเก็บ ปริมาณจุลินทรีย์มีความหนาแน่นมาก ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้ทันที
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่.. จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่.. เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่.. การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้ จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ คลิกดูที่นี่.. การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่..
|