จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย RUN บ่อบำบัดน้ำเสียเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าช่วยให้การย่อยสลายและบำบัดน้ำเสียดีต่อระบบมากขึ้น ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในเวลาเดียวกันทันที
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


RUN บ่อบำบัดน้ำเสียเพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า

บำบัดน้ำเสียแบบมืออาชีพ ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ใช้เป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสีย)และการบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ในบ่อบำบัดน้ำเสียในเวลาเดียวกันทันที จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมเจ้าแรกของประเทศไทย      

    

สิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบคือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย( จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ) เป็นตัวจักรสำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด

ปัญหาของการบำบัดน้ำเสีย จุดที่ยากและสลับซับซ้อนมากที่สุดก็คือ ปัญหาทางด้านเทคนิค ทั้งการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีหลายๆส่วนเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน เช่น ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากอะไร? มีกี่ค่า ? แต่ละค่าต้องแก้ไขอย่างไร ? ปรับระบบอย่างไรเพื่อให้ระบบมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย? เป็นต้น ซึ่งต้องใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญเป็นกรณีพิเศษ ไม่ใช่เพียงแค่การใช้จุลินทรีย์บำบัดแล้วก็จบเท่านั้น ปัญหาทางด้านเทคนิคของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย การปรับลดบางค่า หรือการเพิ่มบางค่าในระบบบำบัดจะพบบ่อยๆ ซึ่งต้องอาศัยผู้ที่รู้ลึกและรู้จริงเท่านั้น ที่นี่..เราแนะนำให้ลูกค้าของเราฟรีๆ

เพิ่มค่า DO และลดค่า  BOD  ในบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำเสียทำให้ค่า  SS , TSของแข็งลด ส่งผลให้ค่า BOD ลดลงไปด้วย ) 

Clean , Reboot , Run  บ่อบำบัดน้ำเสียอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียได้ดีมากขึ้น

วิกฤตน้ำเสียในบ่อบำบัดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ ในบ่อบำบัดน้ำเสียมีจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียน้อยหรือแทบไม่มีเลย จะทำให้เกิดสภาวะน้ำเสียรุนแรงมากขึ้นและติดตามมาด้วยกลิ่นไม่พึงประสงค์ฟุ้งกระจายไปทั่วบริเวณ

         

จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีความสำคัญและความจำเป็นอย่างมากในบ่อบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่ง ถ้าจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียมีน้อยจะทำให้เกิดปัญหาบ่อบำบัดน้ำเสียเริ่มส่งกลิ่นเหม็นมากขึ้นเรื่อยๆ นี่คือความสำคัญของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย

Clean ระบบบำบัดน้ำเสีย

ในการทำความสะอาดระบบบำบัดน้ำเสีย ( ทุกๆบ่อบำบัด ) ควรปฏิบัติเป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อกำจัดของเสียที่ติดค้างอยู่ในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัดออกไปให้หมดก่อนที่จะ REBOOT ระบบใหม่

REBOOT บ่อบำบัดน้ำเสียของท่านให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดับกลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสีย ด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า

เมื่อทำความสะอาดระบบบำบัดน้ำเสียเรียบร้อยแล้ว เตรียม REBOOT ระบบขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ระบบทำงานให้มีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียเหมือนเดิม เครื่องมือและแุปกรณ์ต่างๆทุกส่วนพร้อมทำงาน ( RUN ระบบ )

RUN บ่อบำบัดน้ำเสียของท่านให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ช่วยให้การย่อยสลายสมบูรณ์มากขึ้น ลดกลิ่นไม่พึงประสงค์ในบ่อบำบัดน้ำเสียได้มากขึ้น

ในการ RUN ระบบบำบัดน้ำเสียนั้น โดยทั่วๆไปจะใช้เวลาในการ RUN ระบบประมาณ 1 สัปดาห์จุลินทรีย์ย่อยสลาย(บำบัดน้ำเสีย)จึงจะเพียงพอสำหรับใช้งานในระบบบำบัด  แต่ถ้ามีการเพิ่มหรือเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในระบบบำบัด ระบบก็จะทำงานได้ทันที เพราะมีจุลินทรีย์ย่อยสลายในการเริ่มต้น ( RUN )ของระบบให้มีการย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย)เกิดขึ้นทันทีไม่ต้องรอการ RUN ระบบเป็นสัปดาห์

      

ระบบบำบัดน้ำเสียของท่านสมบูรณ์แบบหรือยัง ? ออกซิเจนที่ละลายในบ่อบำบัดน้ำเสียของท่านมีมากพอไหม? ทำไมต้องให้ออกซิเจนละลายในน้ำเสีย? จำเป็นอย่างไรที่ต้องพึ่งพาออกซิเจนในน้ำเสีย? ไม่มีไม่ได้หรือ? จะเสียหายอะไรถ้าไม่มีออกซิเจนในน้ำเสีย? เพราะน้ำเสียมากออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นก็ไม่มีแล้ว นี่คือคำถามต่างๆที่ยังคาอยู่ในใจหลายๆท่านที่อยากรู้ การบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีนั้นเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นมากๆ ในการบำบัดน้ำเสียให้กลายไปเป็นน้ำดีนั้นต้องพึ่งพาและอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆ ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบออกแบบมาเพื่อต้องการดึงเอาจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย การเติมออกซิเจนลงในน้ำเสียก็เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้ำเสียเพื่อให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ดึงไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายนั่นเอง ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ที่ไม่สมบูรณ์เพราะการขาดออกซิเจนที่ละลายในน้ำเสีย ( ค่าออกซิเจนที่ละลายในน้ำเสียมีน้อยหรือค่า DO ต่ำหรือแทบไม่มีเลย )ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่มปริมาณของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายทางออกการแก้ไขปัญหานี้จึงนิยมเติมหรือเพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ( กลุ่มจุลินทรีย์ em ) ซึ่งสามารถทำงานได้ดีเหมือนกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและสามารถทำงานร่วมกันได้ทั้งสองกลุ่มจุลินทรีย์นี้ เป็นการเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้ดีขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพระบบบำบัดน้ำเสียให้สมบูรณ์ขึ้น 

    

จะเริ่มต้นบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียของท่านอย่างไร ?

1. อันดับแรกให้ทำการตรวจสอบระบบทั้งหมดว่ายังใช้การทำงานได้ดีอยู่หรือไม่ ? มีสิ่งใดที่มีปัญหาในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัดแล้วทำการแก้ไขปัญหานั้นๆ 

2. อันดับต่อมาก็คือ การตรวจสอบหรือการเช็คค่าพารามิเตอร์ในระบบบำบัดและบ่อบำบัดน้ำเสียของท่าน โดยการเก็บตัวอย่างน้ำเสียตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ต่างๆในห้องปฏิบัติการว่าได้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งที่ทางราชการกำหนดหรือไม่ โดยการเก็บตัวอย่างน้ำเสียในบ่อแรก ( น้ำเสียก่อนบำบัด ) และ บ่อสุดท้าย ( น้ำเสียหลังบำบัดแล้ว ) ซึ่งจะทำให้รู้ค่าพารามิเตอร์ต่างๆทั้งก่อนบำบัด ( ในบ่อแรก ) และหลังบำบัด ( บ่อสุดท้าย ) ซึ่งจะทำให้รู้ว่าน้ำเสียในบ่อบำบัดของท่านผ่านมาตรฐานน้ำทิ้งหรือไม่ ระบบบำบัดน้ำเสียของท่านมีประสิทธิภาพหรือไม่ ค่าพารามิเตอร์ต่างๆในบ่อสุดท้ายจะเป็นตัวชี้วัดระบบบำบัดน้ำเสียของท่านว่าผ่าน ( บำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ )หรือไม่ผ่าน ( ล้มเหลว ) 

ระบบบำบัดน้ำเสียแทบจะทุกๆระบบ ( ยกเว้น AS และ RBC ) ส่วนใหญ่ระบบยังไม่สมบูรณ์ คือ การบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดียังด้อยคุณภาพอยู่ ดังนั้น น้ำเสียส่วนใหญ่จึงยังไม่ได้รับการบำบัดที่สมบูรณ์ตามไปด้วย อาจจะบำบัดได้เพียงเล็กน้อย บางแห่งอาจจะบำบัดได้ไม่ถึง 50% ของความสมบูรณ์ของระบบบำบัด น้ำเสียก็ยังคงเป็นน้ำเสียต่อไป สร้างมลภาวะและมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อมสาธารณะต่อไป การทำให้ระบบบำบัดน้ำเสียทำงานให้ได้อย่างสมบูรณ์นั้น ต้องดูปัจจัยหลายๆด้านเป็นองค์ประกอบ ทั้งการออกแบบระบบ การดึงออกซิเจนในน้ำเสีย ปริมาตรของน้ำเสีย การเติมอากาศ ฯลฯ องค์ประกอบเหล่านี้จะเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความสมบูรณ์ของระบบบำบัด สิ่งที่ต้องให้ความสำคัญมากๆในระบบก็คือ ปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย ต้องมีปริมาณที่มากพอ ( ควรมากกว่าของเสียและน้ำเสีย ) ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียในบ่อบำบัดนั้นๆต้องมีมากพอเช่นกัน ค่าพารามิเตอร์ทุกๆตัวต้องเข้าใกล้มาตรฐาน สิ่งเหล่านี้มีความสำคัญและความจำเป็นต่อระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ ในบ่อบำบัดน้ำเสียมีความต้องการจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย โดยต้องการจุลินทรีย์ทั้งกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย Aerobic bacteria  และ Anaerobic bacteria ) ในปริมาณที่มากกว่าของเสียและน้ำเสีย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าใช้ได้ดีกับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบในระบบบำบัดน้ำเสียทั้ง 6  แบบ ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่สร้างขึ้นมา ไม่ว่าจะลงทุนน้อยหรือลงทุนมาก ล้วนต้องใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียทั้งสิ้น  ดังนั้น จะเห็นได้ว่าจุลินทรีย์จะเป็นตัวสำคัญในกลไกบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลายแล้ว ของเสียและน้ำเสียก็จะล้นโลก โลกก็จะเต็มไปด้วยสิ่งปฏิกูลต่างๆมากมาย  แต่ในความเป็นจริงในระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบน้อยกว่าปริมาณของเสีย ( ยกเว้นระบบ AS และ RBC ที่สามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ได้ตามความต้องการ ) ดังนั้น จึงเกิดปัญหาต่างๆติดตามมา ทั้งปัญหาเรื่องกลิ่น ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม ค่าพารามิเตอร์ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ( ส่วนใหญ่จะมีค่าต่ำมากหรือสูงมากในบางค่า ) จึงไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กฎหมายสิ่งแวดล้อมกำหนดไว้ ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะมีจุดด้อยในจุดนี้ เพราะระบบส่วนใหญ่จะเป็นระบบแบบง่ายๆ ( แบบเติมอากาศหรือแบบลากูน ) การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์แบบใช้ออกซิเจนเข้าไปในระบบให้มากขึ้นค่อนข้างทำได้ยาก ต้องใช้แอเรเตอร์เพิ่มขึ้นและกำลังมากขึ้น แต่ก็ยังไม่แน่ว่าจะได้ปริมาณจุลินทรีย์เพิ่มขึ้นตามปริมาณที่เราต้องการให้มีในระบบ  การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ให้มากขึ้นในระบบบำบัดน้ำเสียจะส่งผลดีและมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย นั่นคือ สิ่งที่ระบบบำบัดน้ำเสียต้องการ เพื่อให้ระบบสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียได้ดีมากขึ้น

  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจัดทำขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์ปัญหาดังที่กล่าวมาข้างต้น เราสังเคราะห์ขึ้นมาจากหัวเชื้อของจุลินทรีย์แบบไม่ใช้อากาศต้นฉบับโดยตรง เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลายด้าน มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย รวมไปถึงการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ สามารถทำงานร่วมกันกับจุลินทรีย์ชนิดใช้ออกซิเจนได้เป็นอย่างดี ทำหน้าที่คล้ายๆกัน ดังนั้น จึงสามารถนำมาใช้ทดแทนกันได้ ในสภาวะที่ในน้ำเสียไร้ออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียนั้น จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนไม่สามารถทำงานย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้  ดังนั้น จึงต้องหันไปเพิ่งกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มที่ไม่ใช้ออกซิเจนในน้ำเสียในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย นี่คือทางออกในการแก้ไขปัญหาในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ ( ค่า DO ต่ำหรือแทบเป็น 0 ) จุลินทรีย์อีเอ็มสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ง่ายกว่าจุลินทรีย์ชนิดที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ต้นทุนต่ำกว่าและง่ายกว่า ดังนั้น จึงเป็นทางเลือกในการ RUN & REBOOT ระบบบำบัดน้ำเสียของท่าน ไม่ว่าระบบจะเล็กหรือขนาดใหญ่ สามารถทำได้ทั้งนั้นในทุกๆระบบ เป็นผลดีต่อระบบโดยตรง  กรณ๊ที่ระบบบำบัดน้ำเสียชนิด  AS หรือ  RBC ล่มหรือเสียรอซ่อม ก็สามารถนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปทดแทนได้ระหว่ารอซ่อมและ RUN ระบบอีกครั้ง โดยไม่ต้องรอให้ซ่อมแล้วเสร็จก่อน เพราะของเสียและน้ำเสียเกิดขึ้นในทุกๆวัน น้ำเสียที่เกิดขึ้นไม่สามารถรอระบบให้เสร็จก่อนได้ ต้องทำการบำบัดทันทีก่อนที่จะปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมต่อไป

ระบบบำบัดน้ำเสีย แบ่งออกเป็น 6 แบบ ได้แก่ 

1.ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond)
2.ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อเติมอากาศ (Aerated Lagoon หรือ AL)
3.ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบึงประดิษฐ์ (Constructed Wetland) 
4.ระบบบำบัดน้ำเสียแบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ (Activated Sludge : AS )
5.ระบบบำบัดน้ำเสียคลองวนเวียน (Oxidation Ditch)
6.ระบบบำบัดน้ำเสียแบบแผ่นจานหมุนชีวภาพ (Rotating Biological Contactor ; RBC)

 ทุกๆระบบที่กล่าวมาล้วนต้องการออกซิเจนเข้าไปทำปฏิกิริยาในระบบ เพราะจุลินทรีย์ที่ใช้ในระบบเป็นแบบใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย อีกทั้งน้ำก็ต้องการออกซิเจนเพื่อให้เป็นน้ำดี เพราะถ้าค่าออกซิเจนในน้ำต่ำกว่า 3 ( ค่า DO < 3 )ก็จะเป็นน้ำเสียถึงน้ำจะมีสีใสก็ตาม ยังถือว่าเป็นน้ำเสียอยู่ ดังนั้น ออกซิเจนในน้ำจึงมีความสำคัญมาก น้ำดีหรือน้ำเสียจึงดูค่า DO เป็นจุดหลัก ส่วนค่าพารามิเตอร์ตัวอื่นๆเป็นส่วนประกอบที่สำคัญไล่เลี่ยกันไป ของเสียและน้ำเสียในบางหน่วยงานจะค่อนข้างวิกฤตในปัจจุบัน เพราะของเสียมากขึ้น น้ำเสียเพิ่มมากขึ้น จนระบบย่อยสลายและบำบัดไม่ทัน จึงเกิดการเน่าเหม็นส่งกลิ่นเหม็น ซึ่งทำให้รู้ว่าระบบนั้นมีปัญหาในเรื่องของปริมาณจุลินทรีย์ในระบบนั้นๆมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสียที่เกิดขึ้นจริง  ทางออกคือการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์เข้าไปในระบบให้เพียงพอหรือมากกว่าปริมาณของเสียและน้ำเสีย การเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาทำได้ค่อนข้างยาก ยกเว้นระบบ AS และ RBC สามารถทำได้โดยระบบของมันเอง  แต่ก็อย่างว่า ถ้าสองระบบนี้เกิดชำรุดหรือเสียขึ้นมา ก็ไม่มีจุลินทรีย์อยู่ในระบบหรือมีแต่ปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย สิ่งที่ติดตามมาก็คือ น้ำเสียเริ่มส่งกลิ่นเน่าเหม็นมากยิ่งขึ้น  แล้วจะทำอย่างไร? ทางออกของปัญหานี้ก็คือ เติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ( จุลินทรีย์อีเอ็ม)เข้าไปในระบบให้มากหรือเพียงพอกับปริมาณของเสียและน้ำเสียที่เกิดขึ้นจริง เนื่องจากกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มจะไม่ใช้ออกซิเจนในน้ำมาทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเหมือนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน  กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายต้องอาศัยออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นทุกๆครั้งตลอดเวลา  ถ้าน้ำเสียนั้นมีออกซิเจนละลายอยู่น้อยหรือแทบไม่มีเลย ( น้ำเสียวิดฤตมาก )ปัญหาที่ตามมาก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนไม่สามารถทำงานย่อยสลายของเสียในน้ำนั้นได้  แต่ขณะเดียวกันกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม )สามารถทำงานย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้ทันที  ออกซิเจนไม่มีความจำเป็นกับกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มกลุ่มนี้  ดังนั้น น้ำเสียที่วิกฤตมากๆ ( ออกซิเจนที่ละลายในน้ำเสียนั้นมีน้อยหรือแทบไม่มีเลย ) จุลินทรีย์อีเอ็มจึงสามารถทำงานทดแทนย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้ทันที ประสิทธิภาพไม่ค่อยแตกต่างกันจากจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจน  จึงเป็นทางเลือกในปัจจุบันที่จะนำจุลินทรีย์อีเอ็มมาเสริมประสิทธิภาพการย่อยสลายในระบบบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบที่กล่าวมาข้างต้น จะทำให้ระบบบำบัดน้ำเสียและการย่อยสลายของเสียมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น

จุดบอดหรือจุดด้อยของระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานต่างๆและอาคารชุดคอนโดมิเนี่ยมคือ ในเรื่องของพื้นที่ที่ใช้สร้างบ่อบำบัดน้ำเสียมีพื้นที่น้อยและจำกัด สร้างบ่อบำบัดน้ำเสียได้ไม่เต็มที่เท่าที่ควร ( อาคารสำนักงานทั่วๆไปและอาคารชุดคอนโดมิเนียมมีปริมาณน้ำเสียค่อนข้างมาก ) น้ำเสียมีมาก ในขณะที่บ่อรับน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียทำได้จำกัดและมีจำนวนบ่อรับน้ำเสียน้อยกว่าปกติ ( ส่วนมากไม่เกิน 3 บ่อ ) ในการบำบัดน้ำเสียนั้นต้องใช้ระยะเวลาบำบัดและย่อยสลาย ซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายจะทำหน้าที่นี้ ยิ่งน้ำเสียที่มีสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ยิ่งต้องใช้ระยะเวลาย่อยสลายนานมากขึ้น จึงส่งผลให้น้ำเสียตามอาคารสำนักงานและอาคารชุดส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของทางราชการกำหนดไว้ การที่จะทำให้ระบบบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพ ( บำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีได้ )ได้นั้นสามารถทำได้หลายวิธีด้วยกัน ซึ่งต้องดูข้อมูลของระบบบำบัดน้ำเสียแต่ละสถานที่เป็นหลักในการแก้ไขปัญหา อาจต้องแก้ไขทั้งทางด้านกายภาพ ชีวภาพหรือทางเคมี ซึ่งต้องใช้ทั้งความรู้รอบด้านและความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบำบัดน้ำเสียในการแก้ไขปัญหา 

อธิบายกระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ภาพบน )

จากภาพบนเป็นการบำบัดน้ำเสียระบบ AS เติมอากาศ ( จุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดใช้ออกซิเจน ) + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลาย ) จะเห็นได้ว่าถ้าเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบ AS เดิมในบ่อที่ 1 จะเป็นบ่อรับน้ำเสียและตกตะกอนเบื้องต้นธรรมดาเท่านั้น ( การย่อยสลายเกิดขึ้นน้อยมากในบ่อนี้ ) ก่อนที่จะผ่านเข้าไปบ่อเติมอากาศบ่อที่ 2 ซึ่งเป็นบ่อที่ทำการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้มากที่สุดในระบบนี้ ( บ่อย่อยสลายของเสียโดยใช้จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) และส่งต่อไปยังบ่อพักน้ำทิ้งที่บำบัดแล้วในบ่อที่ 3 ( ตามภาพบน ) การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียส่วนใหญ่ในระบบ AS นี้จะเกิดขึ้นในจุดเดียวคือ บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี  แต่เมื่อเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเข้าไปเพิ่มเติม ( ในบ่อที่ 1 ) จะเกิดการย่อยสลายในบ่อที่ 1 หรือบ่อแรกเพิ่มขึ้นทันทีอีกจุดหนึ่ง ( เหมือนบ่อเติมอากาศ ) กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ออกซิเจนจึงไม่มีความจำเป็นสำหรับจุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆได้ทันที จะเห็นได้ว่าการย่อยสลายของเสียเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 จุดหรือ 2 บ่อ ( บ่อที่ 1 และ บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งเป็นการบำบัดน้ำเสียแบบดับเบิ้ล คือ บ่อที่ 1 จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นตัวบำบัด ( ย่อยสลายของเสียต่างๆ )เป็นด่านแรกก่อนที่จะส่งต่อไปบำบัดอีกชั้นหนึ่งที่บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลาย ) จึงส่งผลให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและการบำบัดน้ำเสียทำได้ดีมากยิ่งขึ้น ค่าพารามิเตอร์ต่างๆจะลดลงตั้งแต่การย่อยสลายหรือการบำบัดในบ่อแรกแล้ว การบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆซ้ำในบ่อเติมอากาศ ( โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ยิ่งจะทำให้ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น BOD , SS , TDS , FOG , TKN ลดลงมากยิ่งขึ้นไปอีก ตะกอนต่างๆก็จะลดลงเหลือน้อยมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเป็นเพราะประสิทธิภาพการบำบัดสองชั้นดังกล่าว ( บำบัดด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อแรกและบำบัดด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศ) จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งดีขึ้นกว่าปกติที่เคยเป็น ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้นเป็นเพราะผลของการบำบัดหรือการย่อยสลายของเสีย 2 ชั้น ปฏิกิริยาการย่อยสลายก็จะรวดเร็วขึ้นกว่าปกติ ของเสียต่างๆในน้ำเสียจึงไม่เป็นภาระหนักให้กับบ่อเติมอากาศเพียงจุดเดียวอีกต่อไป ( ไม่เป็นภาระหนักให้กับจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ที่อาจย่อยสลายของเสียได้ไม่หมดหรือย่อยสลายได้เพียงบางส่วนเล็กน้อย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ในบ่อสุดท้ายบ่อยๆได้

   

  สรุป

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในระบบ AS และยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศอีกชั้นหนึ่ง การย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพสูงเป็นพิเศษ  ส่งผลให้ระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เป็นการบำบัดน้ำเสียโดยการใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย 2  กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจน ) และกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ทำให้สสารที่เจือปนอยูในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วๆไป 

  หมายเหตุ  :   จุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ ( ในทั้งหมด 6 ระบบ ) นอกจากบำบัดน้ำเสียได้ดีแล้ว ยังมีคุณสมบัติเด่นๆในเรื่องของการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆเพิ่มอีกด้วย

การบำบัดน้ำเสียโดยใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย

อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆต้องใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลาย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆยังจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้. -

1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพเจริญเติบโต

2. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( ใช้วิธีการแลกอิเล็คตรอนกับสารประกอบต่างๆ )  

ที่นี่...จำหน่ายจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย ขายจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น ( ไม่พึงประสงค์ ) จำหน่ายจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น ( ไม่พึงประสงค์) ซึ่งกลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นต้องมีที่มาหรือสาเหตุมาจากอินทรีย์วัตถุเท่านั้น ( ไม่ใช่สารเคมี ) ถ้าใช้จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นที่เกิดจากสารเคมี ในบางกรณีอาจส่งผลให้จุลินทรีย์ตายได้ เพราะจุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะถ้าสารเคมีนั้นๆมีฤทธิ์เป็นกรดหรือเป็นด่างที่มีฤทธิ์ทำลายล้างสูง ยิ่งเป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์โดยตรง แต่ถ้าสารเคมีนั้นๆไม่มีคุณสมบัติหรือมีฤทธิ์ทำอันตรายต่อจุลินทรีย์ก็สามารถอนุโลมใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นได้ แต่อาจจะไม่ตรงจุดตรงประเด็น  

การดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ต้องไม่ใช่การกลบกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเหมือนกรณีการใช้สารเคมีกลบกลิ่น กลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายบนโลกใบนี้ ส่วนใหญ่มาจากอินทรีย์วัตถุที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ขึ้นมา มีทั้งมาจากธรรมชาติสร้างขึ้นมาและมนุษย์สร้างขึ้น แต่กลิ่นส่วนใหญ่จะมาจากกิจกรรมของมนุษย์สร้างขึ้น ถ้ากลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นๆมีที่มาจากสารอินทรีย์ก็กำจัดด้วยจุลินทรีย์บำบัดกลิ่น  แต่ถ้ากลิ่นนั้นมาจากสารเคมีก็ให้ใช้สารเคมีกำจัดกลิ่นนั้นๆ ตามที่มาหรือสาเหตุของกลิ่น

      

เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ชนิดเข้มข้นสูง ความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์สูง จุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา ( เพราะมีอาหารเลี้ยงอยู่ตลอดเวลา)เหมาะสำหรับบำบัดน้ำเสีย เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น เป็นกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ใช้ได้กับทุกๆระบบบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นจุลินทรีย์ที่เราจัดทำขึ้นตามความต้องการของลูกค้าโดยตรง ซึ่งลูกค้าที่มีปัญหาห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น ส้วมส่งกลิ่นแรง ต้องการจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำที่มีกลิ่นหอม จุลินทรีย์หอมเป็นจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียจากธรรมชาติที่สังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อวัตถุ ประสงค์ดับกลิ่นห้องน้ำ ห้องสุขาหรือห้องส้วม และบำบัดน้ำเสียโดยเฉพาะ โดยทั่วไปจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจะมีกลิ่นฉุนออกเปรี้ยว แต่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเราจะมีกลิ่นหอม เหมาะใช้งานดังต่อไปนี้.-

- ดับกลิ่นห้องน้ำในบ้าน โรงแรม คอนโดมิเนี่ยม อพาร์ทเม้นท์ เกสเฮ้าส์ ออฟฟิศ ฯลฯ

- ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น, เติมจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะ, บำบัดน้ำเสีย , ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น

- ทำความสะอาดห้องน้ำ ทำความสะอาดพื้นห้องน้ำที่มีกลิ่น

- บำบัดน้ำเสียในโรงงาน บำบัดน้ำเสียในอาคารตึกสำนักงาน สถานประกอบธุรกิจทั่วๆไป 

- ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยงหรือทำความสะอาดสัตว์เลี้ยง

- ดับกลิ่นฟาร์มปศุสัตว์ ( กำจัดกลิ่นมูลสัตว์ทุกชนิด )                              

จุลินทรีย์หอมของเราจัดทำขึ้นตามความต้องการของลูกค้า ที่ต้องการจุลินทรีย์ที่มีกลิ่นหอม

การค้นหาเราใน Google.co.th โดยใช้ คีย์เวิร์ด หรือ คำ ดังต่อไปนี้ .-

1. จุลินทรีย์หอม-kasama

2. จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( สำหรับภาษาไทย )

3. จุลินทรีย์รามอินทรา  ( จุลินทรีย์ของเรามีที่ตั้งอยู่ถนนรามอินทรา )

4. จุลินทรีย์บางกอก ( จุลินทรีย์ร้านบางกอกโปรดักส์ )

คีย์เวิร์ด 1 - 4  เป็นคีย์เวิร์ดตรงของเราในการเข้าสู่เว็บไซต์ของทางร้าน (Bangkokshow.com ) 

สิ่งที่ลูกค้าจะได้มากที่สุดจากที่นี่..ก็คือการแก้ปัญหาในเรื่องการบำบัดน้ำเสียและการแก้ไขปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียของท่าน เพราะเราจะให้บริการท่านฟรีๆ ปรึกษาขอคำแนะนำฟรีๆ การซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปบำบัดน้ำเสียจะเป็นเรื่องรอง ปัญหาทางด้านเทคนิคต่างๆค่อนข้างสำคัญต่อการบำบัดน้ำเสียมากๆ จะเห็นได้ว่า เราไม่ได้ขายแค่จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียเพียงเท่านั้นจบ  แต่เรายังช่วยเหลือและช่วยแก้ปัญหาให้กับลูกค้าของเราอีกด้วย ( จุดสำคัญ ) นี่คือจุดเด่นและจุดแตกต่างของเราที่ไม่เหมือนใครในการจำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย

มา RUN และ ทำการ REBOOT ระบบบำบัดน้ำเสียของท่านด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด เสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้กับระบบบำบัดน้ำเสียให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียที่ยังมีปัญหาทางด้านเทคนิคต่างๆ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด ระบบบำบัดล้มเหลวบ่อยๆ ระบบบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน เครื่องเติมอากาศเสียหรือกำลังวัตต์ต่ำ ฯลฯ 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama )

ราคาแกลลอนละ 1,200 บาท

ขนาดบรรจุแกลลอน 20 ลิตร ( มีขนาดเดียว )

   จัดส่งทั่วประเทศฟรีๆ 

 

มีปัญหาบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น  บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ  ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ 

บำบัดน้ำเสียในสถานประกอบการทุกแห่ง บำบัดน้ำเสียในตึกอาคารสำนักงานทุกๆที่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เข้มข้นสูง ไม่เก่าเก็บ ปริมาณจุลินทรีย์มีความหนาแน่นมาก ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้ทันที


        

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..   

 

       

 จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น

ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ  คลิกดูที่นี่..  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. 

ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูที่นี่...   

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด  คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู  คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ  คลิกดูที่นี่..

การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะ / จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นขยะเหม็น  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น/ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 

 

 

สำหรับค่าพารามิเตอร์ต่างๆที่ควรรู้ในระบบบำบัดน้ำเสียหรือในบ่อบำบัดน้ำเสีย

 

- BOD ( บีโอดี ) ในน้ำเสีย คือ ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ในกระบวนการทางชีวเคมี มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l )

- COD  ( ซีโอดี ) ในน้ำเสีย คือ ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในกระบวนการทางเคมี มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l )

COD (Chemical Oxygen Demandคือ ปริมาณ O2ที่ใช้ในการออกซิไดซ์ในการสลายสารอินทรีย์ด้วยสารเคมีโดยใช้สารละลาย เช่น โพแทสเซียมไดโครเมต (K2Cr2O7) ในปริมาณมากเกินพอ ในสารละลายกรดซัลฟิวริกซึ่งสารอินทรีย์ในน้ำทั้งหมดทั้งที่จุลินทรีย์ย่อย สลายได้และย่อยสลายไม่ได้ก็จะถูกออกซิไดซ์ภายใต้ภาวะที่เป็นกรดและการให้ความร้อน โดยทั่วไปค่า COD จะมีค่ามากกว่า BOD เสมอ ดังนั้นค่า COD จึงเป็นตัวแปรที่สำคัญตัวหนึ่งที่แสดงถึงความสกปรกของน้ำเสีย

- TS  หรือปริมาณของแข็งทั้งหมด (Total Solids : TS ) ในน้ำเสีย มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l )

- SS หรือปริมาณของแข็งแขวนลอย (Suspended Solid : SS ) ในน้ำเสีย มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l )

- ค่า TKN หรือปริมาณไนโตรเจนในรูป TKN มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร( mg/l )

 - ค่า F ( FO4 ) ปริมาณฟอสเฟต มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l )

-  ค่า pH ความเป็นกรด-ด่าง (pH) 

สำหรับค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางตัวจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (2537)

 

- ค่าบีโอดี (BOD) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัม/ลิตร 

- ค่า SS หรือปริมาณของแข็งแขวนลอย (Suspended Solid : SS ) ไม่เกิน 30 มิลลิกรัม/ลิตร

- ค่า pH  5 - 9

- TDS ไม่เกิน 500 mg/l

- FOG ไม่เกิน 20 mg/l

      ฯ ล ฯ

 

    [ ระบบบำบัดน้ำเสีย และ ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ คลิกที่นี่.. ]

 

ดูค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากอาคารสำนักงานชนิด( ขนาดต่างๆ )ต่างๆ คลิกดูที่นี่..]

 

   [ ระบบบำบัดน้ำเสีย และ ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ คลิกที่นี่.. ]

 

TKN (Total Kjeldahl Nitrogen) หมายถึงปริมาณรวมทั้งหมดของ ไนโตรเจนอนินทรีย์และแอมโมเนีย-ไนโตรเจนที่อยู่ในโปรตีนของพืชและสัตว์

TOC (Total Organic Carbon) คือค่าอินทรีย์คาร์บอนรวม เป็นคำศัพท์ที่ใช้อธิบายถึง สารอินทรีย์(ที่พื้นฐานมีคาร์บอน) ซึ่งปนเปื้อนอยู่ในน้าเสียนั้นๆ สารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำนั้น สามารถใช้เป็นตัวชี้วัดคุณภาพของน้ำได้ น้ำที่มีสารอินทรีย์เจอปนมากจะส่งผลให้การละลายของออกซิเจนในน้ำนั้นน้อยลง ส่งผลต่อปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายโดยตรง

ค่า BOD ของน้ำดีจะอยู่ที่  <= 6 mg/l  จะส่งผลทำให้ค่า DO >= 6  ขึ้นไป ค่ากลางของ DO อยู่ที่ 5-8 mg/l หรือ 5-8 ppm.

มาตรฐานน้ำทิ้ง ค่า BOD ( กลาง ) ประมาณ 20 mg/l  ถ้าค่า  BOD เกิน  100 mg/l ขึ้นไป น้ำก็จะเน่าเสียแล้ว ( สารอินทรีย์เจือปนในน้ำมีมาก )

การควบคุมค่าพารามิเตอร์ต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย ( Para Meter  Control )

ทำไมต้องคอนโทรลค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เหตุผลก็เพื่อต้องการทราบค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ทั้งก่อนบำบัด ( ในบ่อแรก ) และหลังการบำบัดแล้ว ( น้ำเสียที่ผ่านการบำบัดให้เป็นน้ำดี ) ซึ่งค่าพารามิเตอร์จะเป็นตัวชี้วัดคุณภาพน้ำที่ผ่านการบำบัดว่า บำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีได้หรือไม่ รวมถึงจะบอกถึงประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียของระบบบำบัดน้ำเสียในหน่วยงานนั้นๆ น้ำที่มีสีใสๆไม่ใช่น้ำที่มีคุณภาพดีเสมอไป อาจมีสารอินทรีย์เจือปนอยู่มากก็ได้ ( เป็นน้ำเสีย )

ค่าพารามิเตอร์พื้นฐานที่ต้องคอนโทรลในระบบบำบัดน้ำเสียหรือบ่อบำบัดน้ำเสีย เช่น  ค่า ph , BOD , COD , SS , TDS , FOG , TKN , S ,DO เป็นต้น ถ้าคอนโทรลค่าพารามิเตอร์พื้นฐานเหล่านี้ได้ตามกำหนดมาตรฐานน้ำทิ้งได้แล้ว ถือว่าระบบบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพดีมาก และต้องคอนโทรลได้อย่างต่อเนื่อง 

การวัดค่าพารามิเตอร์ของน้ำเสียในบ่อบำบัดประจำเดือน ( ในแต่ละครั้ง ) 

ให้เก็บตัวอย่างน้ำเสียในบ่อที่ 1 ( ก่อนบำบัด )  และ บ่อสุดท้าย ( ผ่านการบำบัดแล้ว ) มาวิเคราะห์ค่าพารามิเตอร์ต่างๆในห้องปฏิบัติการแล้วนำไปขึ้นเป็นรีพอร์ท ( รายงานผลการวิเคราะห์ ) ประจำเดือนในแต่ละเดือนต่อไป ( ส่งให้หน่วยงานราชการได้ ) 

สิ่งที่น่าเป็นห่วง โดยเฉพาะน้ำเสียที่ไปจากอาคารสำนักงานและคอนโดมิเนี่ยมต่างๆทุกๆแห่งจะมีสารอินทรีย์และตะกอนปนเปื้อนในน้ำเสียค่อนข้างสูง ส่งผลให้ค่า BOD , TOC , SS , TDS สูงตามไปด้วย การลดสารอินทรีย์ ( ถ้าทำได้ ) จะส่งผลให้ค่า BOD และ TOC , SS , TDS ลดลงตามไปด้วย ถ้าตะกอนสารอินทรีย์มีขนาดใหญ่อาจใช้ตัวกรองของเสียและกรองตะกอนตะกรัน ( Filter ) กรองดักของเสียก่อนลงในบ่อแรก เพื่อลดค่า SS , TDS ไปในตัว ซึ่งมีส่วนช่วยลดค่า BOD , COD , TOC โดยเฉพาะการฟิลดเตอร์กรองแบบละเอียดก่อนน้ำเสียลงบ่อสุดท้าย ( ก่อนปล่อยน้ำทิ้งออกสู่สาธารณะ ) การเพิ่มตัวฟิลเตอร์ในแต่ละบ่อจะช่วยลดค่า BOD , TOC , SS , TDS ไปได้มากพอสมควร ตัวฟิลเตอร์ก่อนลงในบ่อแรกอาจจะหยาบพอประมาณ เพิ่มตัวกรองสัก 2-3 ชั้น ( กรองแบบหยาบ ) ส่วนลำดับต่อไปจนถึงบ่อสุดท้ายก็สามารถเพิ่มความละเอียดมากขึ้นตามความต้องการ เป็นวิธีการลดค่าพารามิเตอร์บางตัวแบบง่ายๆ แต่จะส่งผลดีต่อประสิทธิภาพการบำบัดของระบบได้มากขึ้น ในส่วนของค่า pH สามารถปรับได้ง่ายไม่ยุ่งยากเหมือนกรณีค่า BOD , COD


ตัวอย่างแบบคร่าวๆของการทำรายงานผลประจำเดือนบ่อบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย

ผลการวิเคราะห์ค่าพารามิเตอร์น้ำเสียและน้ำทิ้งของบ่อบำบัดน้ำเสียนิติบุคคลอาคารชุด A ประจำเดือน ..... พ.ศ.  2563

( ค่าพารามิเตอร์ของน้ำเสียแต่ละแห่งอาจแตกต่างกันออกไปสถานะของหน่วยงาน )

 

เพราะอะไรจึงต้องทำการบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะต่อไป

เหตุผลก็เพราะ  น้ำ  คือ  ชีวิต  ทุกๆชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ขาดน้ำ คือ ตายสถานเดียวเท่านั้น น้ำเสียไม่มีสิ่งมีชีวิตใดๆปรารถนา แม้แต่พืชและสัตว์ก็ไม่มียกเว้น รักษาน้ำ เท่ากับรักษาโลกให้ดีขึ้น สิ่งแวดล้อมดีขึ้นน่าอยู่ขึ้น 

  

    เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับระบบบำบัดน้ำเสีย

 

[ ระบบบำบัดน้ำเสียแบบใช้อากาศ ( จุลินทรีย์ใช้อากาศ ) กับระบบบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้อากาศ ( จุลินทรีย์ที่ไม่ใช้อากาศ ]


 

[[ค่ามาตรฐานน้ำทิ้ง คลิกที่นี่..]]

 

(( กฎหมายการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..))