จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย ((( ที่นี่.. จำหน่ายจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ))) สำหรับบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการดับกลิ่นในเวลาเดียวกันทันที
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย

ขอบคุณท่านที่กด  Share ด้านบนให้กับเว็บไซต์นี้

                      

กำจัดไนโตรเจนหรือลดค่า TKN ในบ่อบำบัดน้ำเสียไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถกำจัดไนโตรเจนได้แล้ว เพราะเราได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งรวมอยู่ในจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเรียบร้อยแล้ว ตัวที่ลดค่า TKN ในน้ำเสียได้ก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งเพียงเท่านั้น

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ทุกๆระบบ คลิกที่นี่..

ต้นกำเนิดของการบำบัดของเสียและบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)

ที่แท้จริงคือ จุลินทรีย์จากธรรมชาติ(ที่มีประโยชน์)

ในการบำบัดกลิ่นหรือการดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆบนโลกใบนี้เกิดขึ้นมาพร้อมกับโลกใบนี้จนถึงปัจจุบัน เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในธรรมชาติที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตา ปฏิกิริยาของการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น ) เป็นปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างจุลินทรีย์ในธรรมชาติกับสารอินทรีย์ จุลินทรีย์ที่จะมาทำหน้าที่บำบัดกลิ่นจะต้องเป็นกลุ่มจุลินทีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการบำบัดกลิ่นเท่านั้นที่มีอยู่ในธรรมชาติ จุลินทรีย์กลุ่มนี้จึงได้ชื่อว่าเป็นจุลินทรีย์รักษาสิ่งแวดล้อม ลดมลพิษและมลภาวะในสิ่งแวดล้อมของโลก ถ้าปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มนี้ โลกจะเต็มไปด้วยมลพิษและมลภาวะทั้งมาจากธรรมชาติสร้างขึ้นมาและมนุษย์สร้างขึ้น ทั้งการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น )และการบำบัดของเสียต่างๆถือว่าเป็นหน้าที่โดยตรงของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์

บำบัดน้ำเสียแบบมืออาชีพ ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมเจ้าแรกของประเทศไทย ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสีย)และการบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ในบ่อบำบัดน้ำเสียในเวลาเดียวกันทันที

ที่นี่..เราวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ปัญหาแนะนำให้กับลูกค้าที่ซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปจากเรา ให้ใช้งานจุลินทรีย์ในแต่ละเรื่องอย่างถูกต้อง เช่น การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียใช้อย่างไร ใช้ในจุดใด ใช้ในปริมาณเท่าใด ปรับให้เข้ากับบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่ลูกค้ามีอยู่อย่างไร หรือกรณีการนำจุลินทรีย์ไปใช้ในการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น ) จะใช้อย่างไร ใช้ในจุดไหน ใช้ปริมาณเท่าใด ฯลฯ การใช้จุลินทรีย์อย่างตรงจุดและตรงประเด็น การใช้งานจุลินทรีย์เป็นและใช้ถึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า เราปฏิบัติเช่นนี้              

                      

สิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบคือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ) เป็นตัวจักรสำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบ เป็นหัวใจในการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายของกระบวนการบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบบำบัด

จุลินทรีย์มีกลิ่นหอมหรือไม่ ?

โดยเนื้อแท้ของจุลินทรีย์แล้วจะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ เพราะจุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก สำหรับสี กลิ่น เกิดจากกระบวนการพัฒนาปรับปรุง เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น 

จุลินทรีย์เกี่ยวข้องกับการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสีย)อย่างไร ?

บรรดาของเสียทั้งหลายทั้งมวลบนโลกใบนี้จะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายมีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ในน้ำเสียจะมีสิ่งปนเปื้อนและสิ่งสกปรกที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์แร่ธาตุต่างๆเจือปนอยู่ในน้ำเสีย สิ่งสกปรกที่เป็นมลสารทั้งหลายเหล่านี้จะถูกย่อยสลายให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลงเรื่อยๆจนสุดท้ายของวัฎฎจักรการย่อยสลายสสารเหล่านี้จะแปรเปลี่ยนรูปไปเป็น  พลังงาน + น้ำ + CO2  ตามภาพจำลองสมการด้านล่าง เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เพื่อจัดการบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้น

   

ภาพบนเป็นภาพจำลองของปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งจะแปรเปลี่ยนสภาพของเสียที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ไปเป็น  น้ำ  +  พลังงาน  +  CO2 ( ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด ์ ) ของเสียต่างๆในโลกนี้ไม่ล้นโลกก็มาจากฝีมือของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียนี้เอง การย่อยสลายของเสียต่างๆไม่ได้เกิดขึ้นโดยกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มเดียว ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเจน) กลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนก็มีบทบาทในการย่อยสลายของเสียต่างๆไมด้อยไปกว่ากัน บทบาทในการย่อยสลายของเสียต่างๆจึงอยู่ที่จุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้ คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน และ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน บรรดาของเสียต่างๆบนโลกใบนี้รวมทั้งน้ำเสียต่างๆล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้ในการย่อยสลายของเสียต่างๆให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลงเรื่อยๆจนสุดท้ายแปรเปลี่ยนสภาพกลายไปเป็น น้ำ + พลังงาน + CO2 ตามภาพจำลองสมการด้านบน

ความหมายของ " น้ำเสีย "

น้ำเสีย คือ น้ำที่มีสิ่งสกปรกเจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำนั้นๆ ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์แร่ธาตุต่างๆที่เป็นอันตราย ซึ่งส่งผลทำให้น้ำเกิดการเน่าเสีย สร้างมลพิษและมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น น้ำเสียจากทุกๆแหล่งต้องได้รับการบำบัดก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม

ความหมายของ " บำบัดน้ำเสีย "

สำหรับความหมายของ บำบัดน้ำเสีย คือ การแยก การกำจัด การทำลาย การย่อยสลายของเสียสิ่งสกปรกต่างๆที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์แร่ธาตุต่างๆที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียนั้นๆออกจากน้ำเสียเพื่อเปลี่ยนให้เป็นน้ำดี โดยใช้กรรมวิธีต่างๆเข้ามาบำบัด เช่น การตกตะกอน การองกรองหยาบ การกรองละเอียด การใช้เคมีบำบัด(กรณีที่เป็นสารเคมีที่เป็นอันตรายเจือปน)และการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย เป็นต้น

ความหมายของ " จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย " 

สำหรับความหมายของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย ซึ่งมีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน มีอยู่ทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ แต่อยู่แบบกระจัดกระจายไม่เป็นกลุ่มก้อน

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ?

ความหมายของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย)คือกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ส่วนจุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆที่ไม่มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียก็ไม่จัดอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์นี้ เพราะไม่สามารถย่อยสลายของเสียได้ ในโลกใบนี้มีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน  ซึ่งมีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย มีอยู่แบบกระจัดกระจายทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ  มีอยู่ด้วยกัน 2 กลุ่ม โดยแบ่งกลุ่มตามลักษณะการดำรงชีพ ดังต่อไปนี้ .-

1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic  Bacteria ) ซึ่งก็มีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกันที่มีอยู่ในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ ทั่วๆไป

2. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic  Bacteria ) ซึ่งก็มีหลากหลายสายพันธุ์เช่นกัน มีอยู่ทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ อากาศ แต่อยู่แบบกระจัดกระจายกันไป ไม่ค่อยรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน นอกจากจะมีการนำมารวมกันในภายหลัง

จุลินทรีย์ที่จะแปรสภาพย่อยสลายของเสียทั้งหลาย ต้องเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายเท่านั้น ( ทั้งกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10% จะเห็นได้ว่าระบบบำบัดส่วนใหญ่ ( ทุกๆระบบ ) ออกแบบเพื่อรองรับการดึงออกซิเจนเข้าไปเติมในระบบบำบัด ( เติมในบ่อบำบัด ) เพื่อต้องการให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักมารวมกลุ่มเจริญเติบโตขยายเซลล์ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆ ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายยิ่งมาก ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียก็เกิดขึ้นมาก กากตะกอนของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะเหลือน้อยลงหรือลดลงตามศักยภาพการย่อยสลายของจุลินทรีย์  แต่ในความเป็นจริงแล้วเราไม่สามารถคอนโทรลหรือควบคุมจำนวนหรือปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนให้ได้ตามที่ต้องการในบ่อบำบัดน้ำเสีย ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในแต่ละช่วงเวลา อาจจะมีปริมาณมากเพียงพอกับการย่อยสลายของเสียหรืออาจมีน้อยกว่าปริมาณของเสีย แต่ส่วนใหญ่ของระบบบำบัดจะมีปัญหาปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดบ่อยๆ ซึ่งระบบบำบัดส่วนใหญ่ในประเทศไทยจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( Activated  Sludge ) ระบบบำบัดนี้มีจุดอ่อนหลายจุดด้วยกัน ถ้าการบริหารจัดการดูแลและบำรุงรักษาไม่ดีพอระบบล้มเหลวได้ง่ายๆ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าหรือหลายๆค่าอาจไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด จะเห็นได้ว่าจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นจะควบคุมค่อนข้างยาก ( ควบคุมไม่ได้ตามที่ต้องการ ) เพราะเป็นจุลินทรีย์ที่กระจายกระจายอยู่ตามธรรมชาติ ถ้าออกแบบสิ่งแวดล้อมของระบบบำบัดไม่เหมาะสมกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตของมันก็จะมีปัญหาระบบบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียไม่ทัน ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์เป็นประจำ 

      จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คืออะไร ?

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คือ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า( จุลินทรีย์หอม kasama ) เป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา เราได้พัฒนาจุลินทรีย์อีเอ็มเดิมๆให้มีกลิ่นหอมตามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อตอบโจทย์การบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่นกำจัดกลิ่น)เน่าเหม็น กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียอีกทางหนึ่ง ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆไม่มีคุณสมบัติในข้อนี้ จึงเป็นจุดเด่นที่เพิ่มขึ้นของจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ซึ่งได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสีย (ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย) และการบำบัดกลิ่น(กำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น)ไม่พึงประสงค์ต่างๆที่เกิดขึ้นในบ่อบำบัด ใช้บำบัดกลิ่นได้ทุกๆชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์นอกจากการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย 

  ที่มาของจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย (จุลินทรีย์หอมคาซาม่า)

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ถูกพัฒนาในหลายด้านด้วยกัน ทั้งในเรื่องของการปรับปรุงกลิ่นให้มีกลิ่นหอม และความแข็งแกร่งความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์ ซึ่งจะมีผลโดยตรงต่อประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสีย การบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งต้องใช้จุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น ซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้จะมีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย เราได้พัฒนากลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดไม่ใช้ออกซิเจนให้มีกลิ่นหอมเพิ่มขึ้นมาอีกขั้นหนึ่ง ซึ่งตามปกติจุลินทรีย์จะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติใดๆ เพื่อการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์กลุ่มนี้ให้มากขึ้นและตอบโจทย์ได้ดีในเรื่องของการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ โดยเฉพาะน้ำเสียหรือน้ำเน่าเสียที่วิกฤตหนัก ในน้ำที่เน่าเสียไม่มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลายเลย ( เพราะน้ำที่เน่าเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำ ) จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียคาซาม่าจึงตอบโจทย์และแก้ปัญหานี้ได้ดี เพราะจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ในขณะที่ทำหน้าที่บำบัดกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นน้ำที่เน่าเหม็นในน้ำที่เน่าเสียไปในตัวอีกหน้าที่หนึ่งในเวลาเดียวกัน ซึ่งได้ประโยชน์สองต่อในเวลาเดียวกัน ตามสมการจำลองการทำงานของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าด้านล่าง 

      

บำบัดน้ำเสียอย่างไรจึงจะออกมาสมบูรณ์เป็นน้ำดีได้ ? 

คำตอบสั้นๆง่ายๆก็คือ ปริมาณจุลินทรีย์ในระบบบำบัดต้องมีปริมาณมากกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงจะเอาชนะของเสียและน้ำเสียที่เกิดขึ้นได้ ของเสียทุกๆอย่างในโลกนี้ ซึ่งรวมทั้งน้ำเสียด้วย ล้วนต้องอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ยังไม่มีสิ่งใดมาทดแทนการย่อยสลายของเสียต่างๆแทนจุลินทรีย์ได้ในปัจจุบัน น้ำดีหรือน้ำเสียวัดได้จากค่าพารามิเตอร์เช่น ค่า pH , BOD , COD , DO , SS , TTS เป็นต้น ยิ่งค่าออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆมีสูง ( ค่า DO มากกว่า 3 ขึ้นไป ) ยิ่งเป็นการดีและค่าอื่นๆได้มาตรฐานนั่นคือ น้ำดี  ค่าพารามิเตอร์ต่างๆจะแปรผันไปตามปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลาย ถ้าในระบบบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายจำนวนมาก จะส่งผลต่อค่าพารามิเตอร์ต่างๆเข้าใกล้ค่ามาตรฐาน จะเห็นว่า จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและน้ำเสียเป็นตัวจักรสำคัญในระบบบำบัดน้ำเสียที่จะทำให้น้ำเสียเปลี่ยนเป็นน้ำดีได้ นี่คือความสำคัญของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย ดังนั้น ในระบบบำบัดอย่าให้ขาดจุลินทรีย์ย่อยสลายและอย่าให้จุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดมีน้อยจนเกินไป เพราะจะเกิดปัญหาหลายอย่างติดตามมาในภายหลัง

 น้ำดีและน้ำเสียสามารถแบ่งแยกได้ด้วยการวัดระดับ BOD (Biochemical Oxygen Demand/Biological Oxidation Demand) ซึ่งเป็นปริมาณของ O2 ที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ อาทิ สารประกอบ Hydrocarbons (น้ำมันเชื้อเพลิง) แอลกอฮอล์ และน้ำตาล เป็นต้น ดังนั้น น้ำที่มีค่า BOD ต่ำคือ น้ำที่ดี เพราะจุลินทรีย์ต้องการ O2 จำนวนน้อยในการย่อยสลายสารอินทรีย์ สำหรับประเทศไทยกำหนดไว้ว่าค่า BOD จะต้องเท่ากับหรือไม่เกิน 20 mg/l (มิลลิกรัมต่อลิตร) เมื่อค่า BOD ต่ำกว่า  20 mg/l  ค่า  DO มักจะสูงกว่า 3 ขึ้นไป

     

ภาพบนเป็นภาพจำลองการบำบัด(ย่อยสลายของเสีย)ด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย 2 กลุ่ม ( ในระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ) คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนตามธรรมชาติ และ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนที่สังเคราะห์ขึ้น ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ซึ่งเป็นการบำบัดและย่อยสลาย 2 ชั้นหรือสองต่อ ( Double  Treatment ) ซึ่งจะส่งผลให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากยิ่งขึ้นและเร็วขึ้น จะทำให้กากตะกอนส่วนเกิน ( Excess  Sludge ) เหลือน้อยในบ่อตกตะกอน ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้นตามไปด้วย

   การบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย   

การบำบัดน้ำเสียมีหลายวิธีการด้วยกัน ทั้งวิธีทางกายภาพ เช่น การตกตะกอน การกรอง การนำไปกำจัดทิ้ง  ส่วนการบำบัดน้ำเสียทางเคมีด้วยการใช้สารเคมีบางชนิดมาบำบัด ซึ่งส่วนใหญ่น้ำเสียที่ใช้วิธีการบำบัดทางเคมีนั้นจะปนเปื้อนสารเคมี หรือการตกตะกอนด้วยสารเคมีบางชนิดก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการบำบัดน้ำเสีย ส่วนการบำบัดอีกวิธีหนึ่งก็คือ การบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ คือการใช้จุลินทรีย์(ที่มีประโยชน์ในธรรมชาติ)ย่อยสลายของเสียให้มีโมเลกุลเล็กลงเรื่อยๆจนกระทั่งแปรเปลี่ยนสถานะของสสาร(ของเสียในน้ำเสีย)กลายไปเป็น น้ำ + พลังงาน + ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายในการแปรเปลี่ยนสถานะของสสารที่เป้นของเสีย ไม่ว่าการบำบัดน้ำเสียจะด้วยกรรมวิธีใดๆก็ตาม แต่ขั้นตอนสุดท้ายของการบำบัดน้ำเสีย ต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น ของเสียและน้ำเสียไม่ล้นโลกก็มาจากผลงานของจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์รักษ์โลก(รักษาโลก) มีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและการดำรงชีพขยายเซลล์ ซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศที่เหมาะสม             

  สำหรับการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์จากธรรมชาติ ส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะนิยมใช้งานกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก เพราะสามารถดึงมาจากธรรมชาติใช้งานได้ง่าย ถ้าออกแบบระบบสิ่งแวดล้อมให้มันได้อยู่อาศัยดีพอ แต่ค่อนข้างควบคุมได้ยาก มีความอ่อนไหวง่ายต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะสิ่งแวดล้อมในระบบบำบัด ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่( มากกว่า 90% )ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ (  Activated  Sludge : AS ) ระบบนี้จะเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย( ในบ่อเติมอากาศ ) เพื่อให้น้ำเสียมีปริมาณออกซิเจนมากเพียงพอที่จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนนำไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียและการดำรงชีพขยายเซลล์ต่อไป ถ้าในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนเลย จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็อยู่ไม่ได้( ตายยกบ่อบำบัด ) ดังนั้น จึงต้องมีการบำรุงและรักษามันไว้เป็นอย่างดีเพื่อให้อยู่ในระบบบำบัด( บ่อบำบัด ) ให้มากที่สุด เพื่อจะได้ทำการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ) ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป การมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัด( บ่อบำบัด ) ถ้ามีปริมาณน้อยก็มีปัญหา ถ้าไม่มีเลย ( จุลินทรีย์ย่อยสลายตายยกบ่อบำบัด ) ยิ่งมีปัญหามากเข้าขั้นวิกฤตน้ำเสียต้องรีบแก้ไขโดยด่วน

   ความหมายของการบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพ 

การบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ หมายถึงการบำบัดน้ำเสียที่ได้มาตรฐานน้ำทิ้ง ( น้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ที่กำหนดทุกๆค่า ) หรือการบำบัดน้ำเสียที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทางราชการกำหนด กรณีที่ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าไม่ผ่านเกณฑ์ แต่มีบางค่าผ่านเกณฑ์ก็ไม่ถือว่า การบำบัดน้ำเสียนั้นๆมีประสิทธิภาพ ถือว่ายังไม่มีประสิทธิภาพของการบำบัดน้ำเสีย ต้องนำไปแก้ไขและปรับปรุงใหม่จนกว่าจะมีประสิทธิภาพ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งทุกๆค่าผ่านเกณฑ์กำหนด จึงจะถือว่า การบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพดี

บทบาทของจุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย

    จุลินทรีย์หอมคาซาม่า : จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลากหลายสายพันธุ์จากธรรมชาติ นำมาสังเคราะห์รวมไว้ในที่เดียวกัน มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียได้ดี รวมถึงการบำบัดน้ำเสีย ( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ทั้งการย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติที่เด่นๆอีกคุณสมบัติหนึ่งคือ การบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ได้ดี แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงการนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปใช้ในงานบำบัดน้ำเสีย การทำหน้าที่บำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย ) จะเหมือนกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเหมือนกันและได้ผลลัพธ์เช่นเดียวกัน( ตามสมการจำลองด้านล่าง ) จะแตกต่างกันตรงที่กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะไม่ใช้ออกซิเจนในน้ำเสียในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพ ถึงแม้ในน้ำเสียจะมีออกซิเจนหรือไม่มีออกซิเจนเลยก็ตาม จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำงานย่อยสลายได้ตามปกติ อีกทั้งยังสามารถทนแรงต้านทานสิ่งแวดล้อมที่วิกฤตได้ดี เช่น ในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลย และกรณีที่ค่า pH ในน้ำเสียมีค่าต่ำมากหรือสูงมากในบางครั้ง จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทนกับสภาวะแวดล้อมเช่นนี้ได้ ในขณะที่กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนไม่สามารถทนแรงต้านทานที่วิกฤตเหล่านี้ได้ ( ตายยกบ่อบำบัด ) นี่คือความแตกต่างของจุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน

      

สมการจำลองปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย ด้านบนเป็นปฏิกิริยาของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน ส่วนด้านล่างเป็นปฏิกิริยาของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ซึ่งผลลัพธ์จะเป็นไปตามสมการ

  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถนำไปใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัดและน้ำเสียที่มาจากทุกๆแหล่ง มีวงจรชีวิตเหมือนกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทั่วๆไป จุดเด่นคือ สามารถสังเคราะห์ขึ้นมากหรือน้อยตามความต้องการได้ และเราสามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายมากหรือน้อยเข้าไปในระบบบำบัดได้ทันที ไม่ต้องรอเวลาเหมือนกรณีการเพิ่มปริมาณของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งระบบต้องใช้เวลารันระบบเป็นสัปดาห์จึงจะเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ได้ตามที่ต้องการ ไม่ว่าระบบบำบัดจะมีปัญหาหรือไม่มีปัญหา ทั้งปัญหาทางด้านเทคนิคและสิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียได้ตามปกติ ไม่ส่งผลกระทบใดๆต่อประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัด ซึ่งเป็นจุดที่แตกต่างจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนที่มีจุดอ่อนค่อนข้างมาก ระบบมีปัญหาจุดใดจุดหนึ่งก็จะส่งผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนทันที จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจึงเป็นตัวเติมเต็มและแก้ปัญหาให้กับการบำบัดน้ำเสีย ทดแทนจุลินทรีย์ย่ยสลายในระบบมีน้อยหรือกรณีที่จุลินทรีย์ย่อยสลายตายเกลี้ยงบ่อบำบัด สามารถนำไปทดแทนการบำบัดน้ำเสียได้ทันที 

   ระบบบำบัดน้ำเสียโดยทั่วๆไปมีทั้งหมด 6  ระบบ แต่ระบบบำบัดที่นิยมนำมาใช้มากที่สุดก็คือ ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( Activated  Sludge : AS ) ดังนั้น ต่อไปนี้จะกล่าวถึงระบบบำบัดน้ำเสียชนิดนี้เป็นหลัก ระบบบำบัดแบบเติมอากาศนี้จะมีจุดที่สำคัญอยู่ 3 จุดด้วยกัน คือ มีบ่อรับน้ำเสีย( บ่อแรก ) บ่อเติมอากาศ และ บ่อตกตะกอน ( บ่อน้ำทิ้ง ) ส่วนจะมีการเสริมหรือเพิ่มจำนวนบ่อขึ้นมาอีกในจุดใดจุดหนึ่งก็สามารถทำได้ จุดเด่นๆของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศนี้จะอยู่ที่บ่อเติมอากาศ เหตุเพราะบ่อเติมอากาศจะเกิดปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ) มากที่สุดในกระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ บ่อเติมอากาศหรือบ่อปฏิกิริยาเป็นบ่อที่มีกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักอาศัยอยู่มากที่สุด( เพราะมีการเติมออกซิเจนตลอดเวลา ) จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัยหลัก คือ มีอาหารเพียงพอ และมีออกซิเจนมากเพียงพอต่อการดำรงชีพและดึงไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งในสองสิ่งนี้ก็ไม่ได้อย่างเด็ดขาด ดังนั้น ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศนี้จึงต้องออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสม สร้างสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนอยู่ได้ ออกซิเจนและอาหารต้องเพียงพอ เมื่อใดที่ระบบมีปัญหาขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนนี้ทันที ปริมาณอาจลดลงหรือตายยกบ่อบำบัดได้ทุกเมื่อ ซึ่งจะส่งผลต่อค่ามาตรฐานน้ำทิ้งแต่ละค่าโดยตรง ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ )

บทบาทของจุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับระบบบำบัดน้ำเสีย 

    สำหรับบทบาทของจุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับระบบบำบัดน้ำเสียนั้นจะช่วยทั้งการเพิ่มและการเสริมประสิทธิภาพให้กับระบบบำบัดได้ดีมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาดังต่อไปนี้ .-

1. ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดมีน้อย( จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีน้อย ) อันเนื่องมาจากปัญหาเหล่านี้

     1.1 เครื่องเติมอากาศเสียรอซ่อม จะทำให้ในบ่อบำบัดปริมาณออกซิเจนจะลดลงเรื่อยๆ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน จะทำให้น้ำเน่าเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้น ซึ่งกว่าจะรันระบบเริ่มใหม่หรือบูทระบบใหม่ต้องใช้เวลานาน ในขณะที่ของเสียและน้ำเสียเพิ่มขึ้นตลอดเวลา จนกลายไปเป็นวิกฤตน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นทั่วบ่อบำบัด

     1.2 เครื่องเติมอากาศมีกำลังแรงม้าต่ำหรือกำลังวัตต์ต่ำ ซึ่งจะกระจายออกซิเจนได้น้อย ไม่เพียงพอต่อความต้องการของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน เครื่องเติมอากาศต้องมีกำลังสมดุลกับปริมาณของน้ำเสีย ( ต้องเผื่อ Overload ประมาณ 10% ) ไม่ควรหยุดเดินเครื่องเติมอากาศเป็นเวลานานๆ เพราะจะส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนลดลงได้

     1.3 อาหาร( ของเสีย )ไม่เพียงพอ ทำให้ปริมาณจุลินทรีย์ย่อสลายลดลงได้

      1.4 ออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม ไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตและขยายเซลล์( ขยายตัว )ของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน

2. สิ่งแวดล้อมในน้ำเสีย ( ในบ่อบำบัด ) มีปัญหา เช่น ค่าออกซิเจนละลายในน้ำเสียต่ำ ( ค่า DO ต่ำ ) โดยทั่วไปค่า DO ไม่ควรต่ำกว่า 2 mg/l  หรือกรณีน้ำเสียมีค่า pH ต่ำมาก หรือสูงมาก จะส่งผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนโดยตรง อาจตายเกลี้ยงบ่อบำบัดได้ตลอดเวลา ดังนั้น จึงต้องมีการเช็คค่าเหล่านี้อยู่เป็นประจำ ( ค่า DO , pH ) ถ้าเกิดปัญหาขึ้นต้องรีบแก้ไขทันทีให้ทันเวลาก่อนจุลินทรีย์ย่อยสลายจะตายยกบ่อบำบัด

3. ระบบเกิดการโอเวอร์โหลด ( Overload ) คือ น้ำเสียเข้าระบบมากเกินไปในบางครั้ง ในขณะที่ปริมาณจุลินทรีย์ไม่ได้เพิ่มปริมาณตามน้ำเสียและของเสียที่เกิดขึ้นจริง ทำให้ส่งผลต่อค่ามาตรฐานน้ำทิ้งได้ ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่าน )

4. จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนตายยกบ่อบำบัด ซึ่งสังเกตได้จากกลิ่นเน่าเหม็นที่รุนแรง สิ่งที่จะทำให้จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนนี้ตายยกบ่อได้มีหลายปัจจัย เช่น มีสารเคมีที่เป็นอันตรายหลุดเข้าไปในบ่อบำบัด หรือในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลยเป็นต้น

 

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาตอบโจทย์และแก้ปัญหาให้ในจุดนี้ ( ปัญหา 1 - 4 ) ไม่ว่าค่า DO ในน้ำเสียจะมีมากหรือมีน้อยหรือไม่มีเลย ค่า pH จะต่ำมากหรือสูงมากก็ไม่มีผลกระทบใดๆต่อการดำรงชีพและการทำงานย่อยสลายของเสีย( บำบัดน้ำเสีย ) ของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ดังนั้น จึงเป็นกำลังเสริมและกำลังสนับสนุนการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบได้เป็นอย่างดีในยามวิกฤตเกิดปัญหาขึ้นตามข้อ 1 - 4 สามารถทดแทนและแก้ไขปัญหาได้ทันที ไม่ต้องรอเวลา RUN และ REBOOT ระบบบำบัดใหม่เป็นสัปดาห์ให้เสียเวลา เพราะน้ำเสียเกิดขึ้นตลอดเวลาต้องแก้ไขปัญหาทันที ถึงแม้ว่าระบบบำบัดเดิมไม่มีปัญหาใดๆ แต่ต้องการเริ่งปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสีย ) ให้เร็วขึ้น ให้การย่อยสลายเกิดได้มากขึ้นกว่าปกติก็สามารถใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปเริงปฏิกิริยาได้ทันที ซึ่งส่งผลดีต่อประสิทธิภาพของระบบบำบัดและการบำบัดน้ำเสียโดยตรง

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย)ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น  โดยเฉพาะกับระบบที่มีปริมาณจุลินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้ำมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย ( ระบบเติมอากาศทั่วๆไป ) น้ำเน่าเหม็นและน้ำที่เน่าเสียมีที่มาจากปริมาณจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายของเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้น

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าประกอบไปด้วยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลายกลุ่มหลากหลายสายพันธุ์ การสังเคราะห์จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพมารวมอยู่ในที่เดียวกัน มีจุลินทรีย์รวมอยู่ 5 แฟมิลี่ 10 จีนัส 80 สปีชีส์ เพื่อนำไปใช้งานแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ
1. กลุ่มจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria)
2. กลุ่มจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติก (Lactic acid bacteria)
3. กลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตเจน (Nitrogen fixing bacteria)
4. กลุ่มจุลินทรีย์แอคทิโนมัยซีทส์ (Actenomycetes)
5. กลุ่มจุลินทรีย์ยีสต์ (Yeasts) 

  

 จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น ผู้นำจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียเจ้าแรกของประเทศไทย โปรดระวังของลอกเลียนแบบและแอบอ้างจากมิจฉาชีพที่ชอบลอกเลียนแบบของเรา ซื้อจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจากที่นี่ ท่านจะได้ที่ปรึกษาฟรีๆ ให้คำแนะนำและคำปรึกษาในการบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ แก้ปัญหาทางด้านเทคนิคในระบบบำบัดน้ำเสียของท่าน แก้ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ทำอย่างไร ที่นี่เราแนะนำให้ฟรีๆ

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama )

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่ายแกลลอนละ 1,200 บาท

ขนาดบรรจุแกลลอน 20 ลิตร ( มีขนาดเดียว )

             จัดส่งฟรีทั่วประเทศ 


            


RUN/BOOT&REBOOT ระบบบำบัดน้ำเสียคืออะไร ? กดดูข้อมูลที่นี่...  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..