
![]() |
อีเอ็มหอม/em หอม อีเอ็มหอม( em หอม ) อีเอ็ม(em)ที่มีกลิ่นหอม สำหรับบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่นกำจัดกลิ่น) แบรนด์อีเอ็มหอมคาซาม่า , em หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ใช้อีเอ็มหอมของเราแล้ว จะมีกลิ่นหอมทันทีที่เริ่มใช้งาน ตอบโจทย์การบำบัดน้ำเสีย & การบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่นกำจัดกลิ่น)น้ำเน่าเหม็นในน้ำเสียในเวลาเดียวกันทันที อีเอ็มหอมเจ้าแรกของประเทศไทยที่อีเอ็มมีกลิ่นหอม โปรดระวังของลอกเลียนแบบหรือแอบอ้างจากเรา เราไม่ได้อนุญาตให้ใครลอกเลียนแบบทั้งเนื้อหาสาระต่างๆของเรา อีเอ็ม หรือ em ต่างจากจุลินทรีย์อย่างไร ? คำว่า อีเอ็ม หรือ em ( Effective Microorganisms : em ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลายๆด้านด้วยกัน ชนิดไม่ใช้ออกซิเจน( Anaerobic Bacteria ) ในที่นี้จะเน้นไปที่การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)เป็นหลัก โดยเนื้อแท้ของอีเอ็มหรือจุลินทรีย์อีเอ็มกลุ่มนี้จะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ กลิ่นเปรี้ยวหรือบางครั้งกลิ่นจะเหม็นเปรี้ยวที่พบ กลิ่นดังกล่าวนี้มาจากการหมักของโมลาสที่ใช้เลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์ ถ้าควบคุมได้ไม่ดีพออาจมีกลิ่นเหม็นแทนที่(จุลินทรีย์ตายเกิดการเน่าเหม็น) กรรมวิธีการสังเคราะห์ของแต่ละเจ้าก็อาจจะไม่เหมือนกัน รวมถึงการใช้วัตถุดิบในการเพาะเลี้ยงเชื้อ กรรมวิธีและขั้นตอนต่างๆในการสังเคราะห์จุลินทรีย์อีเอ็มก็อาจแตกต่างกันออกไปตามความรู้และความเชี่ยวชาญความชำนาญพิเศษของแต่ละเจ้า อีเอ็มหอม / em หอม คืออะไร ? อีเอ็มหอม หรือ em หอม ก็คือ จุลินทรีย์อีเอ็มหรือ em เดิมที่ถูกพัฒนาปรับปรุงใหม่ให้มีกลิ่นหอม จึงกลายมาเป็นอีเอ็มหอม หรือ em หอม หรืออีกชื่อก็คือ จุลินทรีย์หอม ยี่ห้อ " จุลินทรีย์หอมคาซาม่า " นั่นเอง อีเอ็มเดิม( em ) จะมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว ไม่พึงปรารถนาสำหรับหลายๆท่าน อีเอ็มหอม / em หอม มีที่มาอย่างไร ? ที่มาของอีเอ็มหอม หรือ em หอม ในนาม " จุลินทรีย์หอมคาซาม่า " หรือ อีเอ็มหอมคาซาม่า / em หอมคาซาม่า มีที่มาจากการพัฒนาจุลินทรีย์อีเอ็ม หรือ อีเอ็ม ( em ) เดิม เราได้พัฒนาในเรื่องของความแข็งแกร่งและความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์ ปรับปรุงในเรื่องของกลิ่นให้มีกลิ่นหอมแทนกลิ่นเหม็นเปรี้ยวเดิมๆ ซึ่งลูกค้าส่วนใหญ่ไม่ชอบกลิ่นอีเอ็มเดิม จึงเป็นที่มาของ อีเอ็มหอม หรือ em หอม ในปัจจุบัน เป็นเจ้าแรกของประเทศไทยที่พัฒนาจุลินทรีย์อีเอ็มให้มีกลิ่นหอม นำอีเอ็มหอมของเราไปใช้บำบัดน้ำเสียได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการดับกลิ่นในบ่อบำบัดน้ำเสียในเวลาเดียวกัน อีเอ็มหอมของเราจะมีกลิ่นหอมทันทีที่ใช้งาน เป็นที่ถูกใจลูกค้าทุกๆท่านที่ใช้ em หอมของเรา เราจำหน่ายอีเอ็มหอมมานานมากกว่า 10 ปีแล้ว มีฐานลูกค้าที่สั่งซื้อเป็นประจำอยู่ทั่วประเทศ เราเน้นนำไปใช้ใน 2 เรื่องหลักๆ อีเอ็มหอม / em หอม หรืออีเอ็มหอมคาซาม่าของเรานำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง ? อีเอ็มหอมหรือ em หอมของเราเป็นอีเอ็มที่ให้ประโยชน์ในหลายๆด้าน แต่ในที่นี้เราจะเน้นการนำไปใช้ใน 2 เรื่องหลักๆดังต่อไปนี้.- 1. นำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสีย em หอมมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆได้ สามารถใช้บำบัดน้ำเสียได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบบำบัด มีความต้านทานต่อสิ่งแวดล้อมสูง อยู่ได้ทั้งในสภาวะไร้ออกซิเจนและมีออกซิเจน ทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียโดยไม่ใช้ออกซิเจน เสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย ทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนได้ทันที กรณีที่ระบบบำบัดน้ำเสียหรือบ่อบำบัดน้ำเสียมีปัญหาปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียมีน้อย หรือจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดตายยกบ่อส่งกลิ่นเน่าเหม็นในบ่อบำบัด กรณีเช่นนี้สามารถใช้ em หอมคาซาม่าบำบัดน้ำเสียทดแทนได้ทันที หรือกรณีที่ระบบบำบัดน้ำเสียหรือบ่อบำบัดน้ำเสียมีปัญหาทางด้านเทคนิค ไม่สามารถบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ได้ หรือบำบัดน้ำเสียได้เป็นบางส่วนทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ อีเอ็มหอมคาซาม่าจะช่วยเป็นกำลังเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้กระบวนการย่อยสลายของเสียในระบบบำบัดได้มากขึ้นและเกิดเร็วขึ้น อีเอ็มหอมคาซาม่าสามารถต้านทานกับสิ่งแวดล้อมที่ไม่ปกติในบ่อบำบัดได้ดี เช่น ในบ่อบำบัดมีค่าออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียน้อยหรือแทบจะไม่มีออกซิเจนเลย หรือกรณีที่ค่า pH ในน้ำเสียต่ำมากๆหรือสูงมากๆ ส่งผลให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนตายยกบ่อบำบัดได้ เพราะไม่สามารถต้านทานน้ำเสียที่มีความเป็นกรดหรือด่างสูงมากได้ แต่อีเอ็มหอมคาซาม่าของเราสามารถต้านทานสภาพสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมเหล่านี้ได้ดี ทำงานย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียแทนกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนได้ทันที โดยไม่มีการดึงออกซิเจนในน้ำเสียมาใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย 2. นำไปใช้ในการบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น) กำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทุกๆชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์ เช่น ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ดับกลิ่นส้วมเหม็น ดับกลิ่นบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยงทุกชนิด ดับกลิ่นน้ำที่เน่าเหม็น ฯลฯ อีเอ็มหอมคาซาม่ามีคุณสมบัติเด่นๆในข้อนี้อีกประการหนึ่ง การใช้อีเอ็มหอม/em หอมดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำ ทุกๆอาคาร บ้านเรือนทั่วๆไปต้องมีห้องน้ำทุกแห่ง และห้องน้ำส่วนใหญ่ก็จะมีส้วมหรือชักโครกอยู่ในตัวกันแทบทั้งนั้น ห้องน้ำถ้ามีการดูแลและรักษาดีๆก็จะไม่ค่อยมีกลิ่น แต่ถ้าดูแลได้ไม่ค่อยดีหรือถึงแม้ดูแลดี แต่มีผู้ใช้จำนวนมากอย่างเช่น ห้องน้ำสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งมีผู้ใช้จำนวนมาก สิ่งที่ติดตามมาและหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือกลิ่นนั่นเอง ในห้องน้ำจะมีทั้งกลิ่นจากชักโครก กลิ่นจากพื้นห้องน้ำ กลิ่นจากท่อน้ำทิ้ง ( ท่อระบายน้ำทิ้ง ) กลิ่นจากโถปัสสาวะ ( ถ้ามี ) กลิ่นคาว กลิ่นอับชื้น กลิ่นยูเรียที่เรี่ยราดตามพื้นห้องน้ำ ห้องน้ำสาธารณะบางแห่งแทบปิดจมูกเข้าใช้ เพราะกลิ่นแรงมากๆ ในส่วนของกลิ่นห้องน้ำตามบ้านเรือนทั่วๆไปก็อาจจะมีบ้าง กลิ่นที่หนักที่สุดก็คือ กลิ่นเหม็นจากชักโครกและกลิ่นเหม็นจากท่อน้ำทิ้งหรือท่อระบายน้ำทิ้งในห้องน้ำ กลิ่นในห้องน้ำเหล่านี้มาได้อย่างไร ? และมาจากจุดใด ? 1. กลิ่นเหม็นจากชักโครก มีที่มาจาก 2 จุดคือ ของเสียและสิ่งปฏิกูลที่มีขนาดเล็กเกาะติดอยู่ตามซอกด้านในของชักโครก ซึ่งอาจทำความสะอาดเข้าไม่ถึง เมื่อสะสมเป็นเวลานานๆก็จะทำให้เกิดกลิ่นขึ้นมาได้ สำหรับจุดที่สองก็คือ กลิ่นตีกลับจากบ่อเกรอะและท่อต่อไปบ่อเกรอะ ท่อพีวีซีที่ต่อเชื่อมจากชักโครกไปลงยังบ่อเกรอะจะมีของเสียและสิ่งปฏิกูลเกาะจับอยู่ตามผนังท่อด้านในจนไปถึงบ่อเกรอะ เมื่อมีการกดชักโครก กลิ่นจากบ่อเกรอะและกลิ่นที่เกาะติดอยู่ตามท่อลำเลียงจะตีกลับมายังชักโครก นี่คือที่มาของกลิ่นชักโครกในจุดที่สอง ตามปกติกลิ่นจะมีมวลเบาและจะลอยขึ้นสู่ที่สูงไปตามท่อลำเลียงที่มีการเชื่อมต่อ ดังนั้น ถ้าในห้องน้ำมีการเชื่อมต่อท่อลำเลียงไปลงรวมกันทั้งหมดที่บ่อเกรอะจะมีปัญหาในเรื่องกลิ่นติดตามมาอย่างเลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น อ่างล้างมือ ท่อระบายน้ำทิ้งในห้องน้ำหรือฟอร์เดรนในแต่ละจุดที่มีการต่อท่อลำเลียงน้ำทิ้งไปเชื่อมเข้ากับบ่อเกรอะ นี่คือที่มาของกลิ่นเหม็นในห้องน้ำอีกส่วนหนึ่ง 2. กลิ่นเหม็นจากท่อระบายน้ำทิ้ง ( ฟอร์เดรน ) ห้องน้ำบางแห่งอาจมีท่อระบายน้ำทิ้งหลายจุด ตามหลักการที่ถูกต้อง น้ำทิ้งจากห้องน้ำ เช่น น้ำอาบ น้ำใช้ต่างๆ น้ำล้างมือ หรือน้ำที่ใช้ซักล้างต่างๆ ต้องแยกไปลงรวมกันทั้งหมดที่บ่อพักน้ำทิ้ง ( แยกออกจากบ่อเกรอะเป็นคนละบ่อ) ไม่ควรนำไปรวมกันลงในบ่อเกรอะ เพราะจะสร้างปัญหาในเรื่องกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ง่ายๆ อาคารบ้านเรือนรุ่นเก่าจะนิยมนำน้ำเสียทั้งหมดที่ใช้แล้วลงไปรวมในที่เดียวกันคือ บ่อเกรอะ จึงทำให้ส้วมเต็มง่ายและติดตามมาด้วยปัญหากลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะ ท่อระบายน้ำทิ้งจะมีเศษของเสียต่างๆเกาะติดอยู่ด้านในท่อ ทั้งสบู่และแชมพูหรือสิ่งที่ใช้ภายในห้องน้ำ เมื่อสะสมกันเป็นเวลานานๆเข้าจะทำให้เกิดปัญหาในเรื่องกลิ่นได้ สิ่งที่ไม่ควรกระทำก็คือ การใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์รุนแรงในการทำความสะอาดท่อระบายน้ำทิ้ง เช่น โซดาไฟ หรือกรดเกลือ เป็นต้น เพราะจะส่งผลทำให้จุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบตายได้ง่ายๆ ไม่ควรใช้สารเคมีเหล่านี้มาทำความสะอาดหรือกำจัดกลิ่นห้องน้ำ จะใช้อีเอ็มหอมดับกลิ่นห้องน้ำได้อย่างไร ? หลายๆท่านนิยมใช้สารเคมีในการดับกลิ่นห้องน้ำหรือกำจัดกลิ่นห้องน้ำ ซึ่งก็ใช้ได้ แต่เป็นการดับกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเท่านั้นและต้องใช้อย่างต่อเนื่อง นั่นคือสารเคมีตกค้างในห้องน้ำมากขึ้นนั่นเอง อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพระบบทางเดินหายใจได้ สารเคมีอาจทำให้แสบจมูกและแสบตาได้ง่ายๆ ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพผู้ใช้ห้องน้ำทุกๆชีวิต กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในห้องน้ำ เป็นกลิ่นที่มาจากสารอินทรีย์แทบทั้งหมด ตามหลักธรรมชาติบำบัดต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายและดับกลิ่นในการบำบัดกลิ่นเหล่านี้ เพราะสารอินทรีย์ทั้งหมดบนโลกใบนี้จะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ซึ่งรวมทั้งกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่อยู่ในสารอินทรีย์ด้วย จุลินทรีย์ย่อยสลายเหล่านี้เมื่อทำหน้าที่ย่อยสลายและบำบัดกลิ่นแล้วก็จะสลายตัวไปตามธรรมชาติ ไม่มีสารตกค้างใดๆทั้งสิ้น จึงปลอดภัยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม อีเอ็มหอม / em หอมดับกลิ่นห้องน้ำ : จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ตอบโจทย์และแก้ปัญหากลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำด้วยอีเอ็มหอมคาซาม่า อีเอ็มหอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย รวมถึงมีคุณสมบัติในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆได้ดี เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดับกลิ่น ดังนั้น กลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหมดทั้งมวลที่เกิดขึ้นภายในห้องน้ำ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถกำจัดกลิ่นเหล่านี้ได้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นกลิ่นเหม็นตามจุดต่างๆ กลิ่นคาวตามพื้นห้องน้ำ กลิ่นยูเรียจากปัสสาวะหรือกลิ่นฉี่ กลิ่นจากท่อน้ำทิ้ง ฯลฯ ซึ่งจะครอบคลุมกลิ่นทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในห้องน้ำ ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าบำบัดได้ทันที เปลี่ยนกลิ่นห้องน้ำให้มีกลิ่นหอม ซึ่งไม่ใช่การกลบกลิ่นเหมือนกรณีการใช้สารเคมี แต่เป้นการบำบัดกลิ่นหรือดับกลิ่นอย่างถูกจุดและตรงประเด็น เพราะกลิ่นเหล่านี้ส่วนใหญ่มีที่มาจากสารอินทรีย์แทบทั้งสิ้น ต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายในการบำบัดกลิ่นเหล่านี้ อีเอ็มหอมคาซาม่าดับกลิ่นห้องน้ำได้อย่างไร ? em หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) จัดอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย รวมถึงการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ อีเอ็มหอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดับกลิ่น ดังนั้น จึงเหมาะสำหรับการใช้ในบ่อเกรอะที่อับอากาศออกซิเจนหรือในจุดที่ไม่มีออกซิเจนเลย ซึ่งผู้ใช้อีเอ็มหอมคาซาม่าถ้านำไปใช้กำจัดกลิ่นบ่อเกรอะจะได้รับประโยชน์ทั้งการดับกลิ่นบ่อเกรอะและการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะโดยตรง การใช้อีเอ็มหอมคาซาม่าในห้องน้ำแบบบูรณาการทุกส่วน กลิ่นไม่พึงประสงค์ในห้องน้ำมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน ทั้งกลิ่นคาว กลิ่นปัสสาวะ กลิ่นสิ่งปฏิกูลต่างๆ กลิ่นจากท่อน้ำทิ้งหรือฟอร์เดรน ในการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นเหล่านี้ให้หมดด้วยอีเอ็มหอมคาซาม่าให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ .- 1. ใช้อีเอ็มหอมคาซาม่าราดลงที่ชักโครกพอประมาณ ( 1-2 ลิตร )เพื่อทำความสะอาดชักโครกและกำจัดเชื้อโรค 2. ใช้อีเอ็มหอมคาซาม่าทำความสะอาดท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำหรือฟอร์เดรนในแต่ละจุด จุดละ 1-2 ลิตร 3. ใช้อีเอ็มหอมคาซาม่าทำความสะอาดพื้นห้องน้ำ ซึ่งอาจใช้ร่วมกับแชมพูก็ได้ แต่ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรดหรือเป็นด่างที่รุนแรง เพราะอาจทำให้จุลินทรีย์ตายได้ 4. ใช้อีเอ็มหอมคาซาม่าทำความสะอาดอ่างล้างมือแต่ละจุด ซึ่งจุดใดที่มีน้ำทิ้งก็ให้ใช้จุลินทรีย์ทำความสะอาดได้เลย เพื่อกำจัดกลิ่นต่างๆที่ติดค้างอยู่ตามจุดต่างๆในห้องน้ำ 5. กรณีที่ห้องน้ำมีโถปัสสาวะก็ให้ใช้อีเอ็มหอมคาซาม่าทำความสะอาดโถปัสสาวะร่วมกับแชมพูได้เลย น้ำทิ้งจากห้องน้ำรวมถึงจุลินทรีย์ที่ใช้ทั้งหมดจะลงไปรวมกันที่บ่อพักน้ำทิ้งที่มีการติดตั้ง แต่ในหลายครัวเรือนหรือบ้านหลายๆหลังจะมีการต่อทั้งน้ำทิ้งในห้องน้ำและน้ำเสียจากชักโครกลงไปรวมกันทั้งหมดในบ่อเกรอะ ซึ่งมีจำนวนมากที่เป็นเช่นนี้ บ้านราคาหลายสิบล้านก็พบอยู่เป็นประจำ ในหลักการที่ถูกต้อง ต้องทำการแยกบ่อน้ำทิ้งจากห้องน้ำออกจากบ่อเกรอะ ( แยกคนละบ่อ ) เพื่อไม่ให้เกิดปัญหากลิ่นจากบ่อเกรอะตีกลับและลอยขึ้นสู่ที่สูง ( ห้องน้ำและส่วนอื่นๆ ) การใช้อีเอ็มหอมคาซาม่าในห้องน้ำแบบบูรณาการจะได้รับประโยชน์ดังต่อไปนี้ .- 1. ดับกลิ่นห้องน้ำโดยรวมทั้งหมด ทั้งกลิ่นชักโครก กลิ่นคาว กลิ่นปัสสาวะ ( ยูเรีย ) และอื่นๆ 2. ทำความสะอาดท่อลำเลียงของเสียและน้ำทิ้งจากห้องน้ำ ( ท่อพีวีซี ) ซึ่งจะมีของเสียบางส่วนเกาะอยู่ตามท่อเหล่านี้ 3. จุลินทรีย์ที่ใช้ทำความสะอาดห้องน้ำทั้งหมดจะไหลลงไปรวมกันที่บ่อพักน้ำทิ้งหรือบ่อเกรอะ ( กรณีที่ต่อรวมกันทั้งหมด ) จะได้รับประโยชน์ทั้งในเรื่องการดับกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสียในบ่อพักน้ำทิ้งหรือในบ่อเกรอะ และจุลินทรีย์เหล่านี้ก็จะทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียอีกต่อหนึ่ง ซึ่งเท่ากับในบ่อเกรอะมีจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียโดยอัตโนมัติจากการใช้จุลินทรีย์ในห้องน้ำ นี่คือผลลัพธ์ของการใช้อีเอ็มหอมคาซาม่าในห้องน้ำแบบบูรณาการทุกส่วน อีเอ็มหอมคาซาม่ามีจุดเด่นมากในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ดี ใช้แล้วมีกลิ่นหอมทันที จึงเป็นที่มาของคำว่า อีเอ็มหอมดับกลิ่นหรืออีเอ็มหอมกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทุกๆชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์ นอกจากนี้ยังช่วยในการกำจัดเชื้อโรค ( กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษก่อเชื้อโรคทั้งหลาย ) ใช้เป็นประจำจะช่วยให้ห้องน้ำสะอาดปราศจากกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เพราะอีเอ็มหอมคาซาม่าไม่ใช่สารเคมี เป็นจุลินทรีย์ธรรมชาติที่นำมารวมกันเพื่อใช้ประโยชน์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียตามสถานที่ต่างๆและที่อยู่อาศัยบ้านเรือนทั่วๆไปทุกๆแห่งสามารถใช้ได้ทันที การใช้อีเอ็มหอมบำบัดน้ำเสีย ( em หอมคาซาม่า ) การนำอีเอ็มหอมคาซาม่าไปใช้ในการบำบัดน้ำเสีย สามารถใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ บำบัดน้ำเสียได้ทั้งในสภาวะไร้ออกซิเจนและมีออกซิเจน เหมาะสำหรับนำไปทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนในช่วงที่ระบบบำบัดมีออกซิเจนน้อย หรือระบบบำบัดน้ำเสียมีปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์บ่อยๆ นำอีเอ็มหอมคาซาม่าไปช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียในระบบ จุลินทรีย์คืออะไร ? จุลินทรีย์ ( Micro-organism ) หรือจุลชีพ หรืออีกชื่อคือแบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กๆไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตาเปล่า เป็นสัตว์เซลล์เดียว มีทั้งประเภทให้ประโยชน์ ให้โทษ และเป็นกลาง จุลินทรีย์ในโลกนี้มีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน การดำรงชีพมีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน แบ่งตามคุณลักษณะมีอยู่ด้วยกัน 3 กลุ่มดังต่อไปนี้ .- 1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ให้ประโยชน์ต่อพืชและสัตว์ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10 % ( ชนิดใช้ออกซิเจน + ชนิดไม่ใช้ออกซิเจน ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ให้ประโยชน์ต่อพืชและสัตว์ในหลายๆด้าน จุลินทรีย์ที่อยู่ในนมเปรี้ยวก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ มีการนำมาใช้ประโยชน์ทั้งเป็นยาและอาหาร การหมักปุ๋ย ฯลฯ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าหรืออีเอ็มหอมคาซาม่าก็จัดอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์กลุ่มนี้ แต่เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา 2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษหรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่สร้างปัญหาก่อเชื้อโรคต่างๆ ต่อพืชและสัตว์ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนเช่นกัน กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10 % ของจุลินทรีย์โดยรวมทุกๆชนิด อาหารบูดเน่า แผลติดเชื้อ แผลเน่าก็มาจากจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ติดเชื้อแบคทีเรียก็คือจุลินทรีย์กลุ่มนี้นั่นเอง 3. กลุ่มจุลินทรีย์ที่เป็นกลาง ซึ่งเข้าร่วมงานกับจุลินทรีย์กลุ่มใดก็ได้ใน 2 กลุ่มข้างต้น มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติประมาณ 80 % มากที่สุดในบรรดากลุ่มจุลินทรีย์ทั้งหมดในธรรมชาติ ( ตามแบบจำลองด้านบน ) ( ข้อแนะนำสำหรับการบำบัดน้ำเสีย และ ระบบบำบัดน้ำเสีย ) ปัญหาของการบำบัดน้ำเสีย จุดที่ยากและสลับซับซ้อนมากที่สุดก็คือ ปัญหาทางด้านเทคนิคในระบบ ทั้งการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีหลายๆส่วนที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน เช่น ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากอะไร? ไม่ผ่านกี่ค่า ? แต่ละค่าต้องแก้ไขอย่างไร ? ปรับระบบอย่างไรเพื่อให้ระบบมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย? ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งต้องใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ ไม่ใช่เพียงแค่การใช้จุลินทรีย์บำบัดแล้วก็จบเพียงเท่านั้น ปัญหาทางด้านเทคนิคของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย การปรับลดบางค่า หรือการเพิ่มบางค่าในระบบบำบัดจะพบบ่อยๆ ซึ่งต้องอาศัยผู้ที่รู้ลึกและรู้จริงเท่านั้น จุลินทรีย์เกี่ยวข้องอะไรกับการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย ? บรรดาของเสียทั้งหลายทั้งมวลบนโลกใบนี้ ซึ่งรวมทั้งน้ำเสียและของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ( กลุ่มที่มีประโยชน์กลุ่มที่ 1 ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายมีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ในน้ำเสียจะมีสิ่งปนเปื้อนและสิ่งสกปรกที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์แร่ธาตุต่างๆเจือปนอยู่ในน้ำเสีย สิ่งสกปรกที่เป็นมลสารทั้งหลายเหล่านี้จะถูกย่อยสลายให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลงเรื่อยๆจนสุดท้ายของวัฎฎจักรการย่อยสลายสสารเหล่านี้จะแปรเปลี่ยนรูปไปเป็น พลังงาน + น้ำ + CO2 ตามภาพจำลองสมการด้านล่าง เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เพื่อจัดการบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้น จึงต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่มีประโยชน์นี้ ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลาย ของเสียต่างๆคงล้นโลกไปนานแล้ว ดังนั้น ในการบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งและทุกๆระบบจะขาดซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้โดยเด็ดขาด ภาพบนเป็นภาพจำลองของปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งจะแปรเปลี่ยนสภาพของเสียที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ไปเป็น น้ำ + พลังงาน + CO2 ( ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด ์ ) ของเสียต่างๆในโลกนี้ไม่ล้นโลกก็มาจากฝีมือของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียนี้เอง จุลินทรีย์รักษ์โลกก็คือจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้นี่เอง ช่วยให้ขยะไม่ล้นโลก ช่วยให้น้ำเสียไม่ล้นโลก ช่วยลดมลภาวะและมลพิษในสิ่งแวดล้อม รักษาสิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ( ย่อยสลายของเสีย ) จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียยังแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อยด้วยกันตามลักษณะการดำรงชีพดังต่อไปนี้ .- 1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ขาดออกซิเจนไม่ได้ ต้องใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ รวมถึงใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีอยู่กระจัดกระจายอยู่ทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ 2. กลุ่มจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ( Anaerobic Bacteria ) ซึ่งก็มีหลากหลายสายพันธุ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ กลุ่มจุลินทรีย์ที่จะแปรสภาพย่อยสลายของเสียต่างๆทั้งหลายทั้งปวง ต้องเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น ( ทั้งกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10% จุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่บำบัดน้ำเสียหรือย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จะเห็นได้ว่าระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ ( ทุกๆระบบ ) ออกแบบเพื่อรองรับการดึงออกซิเจนเข้าไปเติมในระบบบำบัด ( เติมในบ่อบำบัด ) เพื่อต้องการให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักมารวมกลุ่มเจริญเติบโตขยายเซลล์ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆ ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายยิ่งมาก ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียก็เกิดขึ้นมาก กากตะกอนของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะเหลือน้อยลงหรือลดลงตามศักยภาพการย่อยสลายของจุลินทรีย์ แต่ในความเป็นจริงแล้วเราไม่สามารถคอนโทรลหรือควบคุมจำนวนหรือปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนให้ได้ตามที่ต้องการในบ่อบำบัดน้ำเสีย ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในแต่ละช่วงเวลา อาจจะมีปริมาณมากเพียงพอกับการย่อยสลายของเสีย หรืออาจจะมีน้อยกว่าปริมาณของเสีย แต่ส่วนใหญ่ของระบบบำบัดน้ำเสียจะมีปัญหาปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดบ่อยๆ ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ในประเทศไทยจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( Activated Sludge ) ระบบบำบัดชนิดนี้มีจุดอ่อนหลายจุดด้วยกัน ถ้าการบริหารจัดการดูแลและบำรุงรักษาไม่ดีพอระบบล้มเหลวได้ง่ายๆ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าหรือหลายๆค่าอาจไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด จะเห็นได้ว่าจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะควบคุมค่อนข้างยาก ( ควบคุมไม่ได้ตามที่ต้องการ ) ถ้าออกแบบสิ่งแวดล้อมของระบบบำบัดไม่เหมาะสมกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตของมันก็จะมีปัญหาระบบบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียไม่ทัน ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์เป็นประจำ นี่คือเรื่องราวของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย การสร้างจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย อย่างที่กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักค่อนข้างควบคุมได้ยากและเพิ่มปริมาณไม่ได้ตามที่เราต้องการ มันจะอยู่แบบกระจัดกระจายตามดิน น้ำ อากาศ ซึ่งควบคุมได้ยาก ดังนั้น จึงมีการคิดค้นสังเคราะห์กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในด้านการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่สามารถควบคุมและเพิ่มปริมาณความหนาแน่นของจุลินทรีย์ได้ตามที่เราต้องการ สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ในห้องปฏิบัติการ นั่นก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มนี้สามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อมในสภาวะไร้ออกซิเจนหรือมีออกซิเจนก็ได้ ทำหน้าที่ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียได้เหมือนกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน จึงมีการนำมาทดแทนและเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในระบบบำบัดน้ำเสียทั่วๆไปทีมีปัญหาในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ ) จึงหมดปัญหาในการควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้ เราสามารถสร้างและสังเคราะห์จุลินทรีย์ย่อยสลายขึ้นมาทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ความสำคัญของจุลินทรีย์ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียในทุกๆระะบบบำบัดน้ำเสีย ในการบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งและทุกๆระบบ ไม่ว่าน้ำเสียที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นมา และไม่ว่าระบบบำบัดน้ำเสียนั้นๆจะลงทุนมากหรือลงทุนน้อยเพียงใดก็ตาม ทุกๆระบบที่สร้างขึ้นล้วนต้องใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งสิ้นในการบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ถึงแม้ในบางครั้งอาจใช้สารเคมีเข้าร่วมบำบัดด้วยในบางกรณี แต่กระบวนการย่อยสลายขั้นสุดท้ายก็มาจบลงที่จุลินทรีย์ย่อยสลายเหมือนเดิม น้ำเสียที่เกิดขึ้นในทุกๆแห่งล้วนต้องอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆ รวมถึงการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก็ต้องอาศัยจุลินทรีย์ทั้งสิ้น ซึ่งเท่ากับจุลินทรีย์ย่อยสลายเหล่านี้มีคุณประโยชน์ต่อโลกใบนี้ ช่วยพิทักษ์และรักษาไม่ให้ของเสียและน้ำเสียล้นโลกมาจนถึงปัจจุบันนี้ ลดมลพิษและมลภาวะให้กับโลก รักษาสิ่งแวดล้อม ประเภทของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ 1. การบำบัดน้ำเสียแบบใช้อากาศออกซิเจน (Aerobic wastewater treatment) เป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียสำหรับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มนี้ถ้าไม่มีออกซิเจน ( ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ) ก็ไม่สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพในน้ำเสียนั้นๆได้ น้ำก็จะเน่าเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตได้ทางกายภาพและเช็คค่า BOD 2. การบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้อากาศออกซิเจน (Anaerobic wastewater treatment) เป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียสำหรับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้อากาศออกซิเจนในการดำรงชีพและในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆ ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ( ค่า DO ) ไม่มีความจำเป็นสำหรับจุลินทรีย์กลุ่มนี้ (ไม่มีการดึงออกซิเนในน้ำเสียไปใช้ ) ดังนั้น ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียมีปริมาณเท่าใดก็ยังคงมีปริมาณไม่ลดลง ในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่ง จากระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบจะเกี่ยวข้องกับจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งสองกลุ่มนี้เป็นหลัก ถ้าขาดหรือปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ( ในทั้งสองกลุ่มนี้ ) แล้ว น้ำเสียทั้งหมดก็จะไม่ได้รับการบำบัดให้เป็นน้ำดี น้ำเสียและของเสียต่างๆคงล้นโลกใบนี้ไปนานแล้ว นี้คือ กระบวนการต่างๆในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้จุลินทรีย์แบบคร่าวๆ ( ชนิดใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ) จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม Kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียต่างๆและการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายในน้ำเสีย ( Anaerobic Bacteria ) ไม่ว่าในน้ำเสียนั้นๆจะมีหรือไม่มีออกซิเจนก็ตาม จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียได้ทันที ซึ่งจะแตกต่างไปจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic Bacteria ) ซึ่งจะขาดออกซิเจนไม่ได้โดยเด็ดขาด เหตุผลที่ต้องเติมอากาศลงในบ่อบำบัดน้ำเสียก็เพื่อการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนนี่เอง จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถทำงานย่อยสลายของเสียได้ทั้งในสภาวะไร้อากาศและมีอากาศ และสามารถทำงานแบบร่วมกัน ( ย่อยสลายของเสีย ) กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนได้ดี และมีคุณสมบัติพิเศษอีกประการหนึ่ง นั่นก็คือ การกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ โดยเฉพาะกลิ่นที่เกิดจากสารอินทรีย์ทั้งหลาย ( ทั้งพืชและสัตว์ ) ซึ่งคุณสมบัติข้อนี้จะไม่มีในกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จุลินทรีย์หอมคาซาม่าช่วยทั้งเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้มากขึ้นและเร็วขึ้น ส่งผลให้การย่อยสลายของเสียในน้ำเสียมีประสิทธิภาพมากขึ้นตามไปด้วย สามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบในประเทศไทย เสริมจุดด้อยของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศที่มีปัญหาปริมาณจุลินรีย์ย่อยสลายมีน้อย การเติมอากาศได้ไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด เครื่องเติมอากาศเสียหรือไม่มีเครื่องเติมอากาศเลย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเพิ่มประสิทธิภาพและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในจุดใด ? เนื่องจากจุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีคุณสมบัติในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียเหมือนกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบออกแบบมาเพื่อต้องการดึงกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าระบบให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียในบ่อบำบัดที่สร้างขึ้นมา ระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( มากกว่า 90% ) ระบบบำบัดแบบเติมอากาศจะดึงเอาจุลินทรีย์ย่อยสลายในธรรมชาติมาใช้งานย่อยสลายของเสียต่างๆ แต่ไม่สามารถกำหนดหรือควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายให้มีมากเพียงพอกับปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงส่งผลให้ของเสียต่างๆบางส่วนในน้ำเสียนั้นๆถูกย่อยสลายได้ไม่หมด ยังคงมีของเสียส่วนหนึ่งตกค้างในระบบบำบัดและผ่านไปยังบ่อพักน้ำทิ้งเพื่อเตรียมปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์อยู่บ่อยๆและเป็นประจำ จะด้วยข้อจำกัดของระบบบำบัดหรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาเพิ่มประสิทธิภาพกำลังการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( ช่วยเพิ่มการย่อยสลายของเสีย ) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียให้เพิ่มขึ้นหรือมากขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง เป็นการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ถือว่าเป็นการบำบัดซ้ำหรือการย่อยสลายซ้ำ ( Double Treatment ) ส่งผลให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้น เป็นปฏิกิริยาบำบัด 2 ชั้น หรือ 2 ขั้นตอนตามภาพจำลองด้านล่าง ซึ่งจะส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์มากหรือน้อยได้ตามความต้องการของผู้ใช้ กรณีที่ของเสียหรือน้ำเสียมีปริมาณมากก็สามารถเติมมากได้ตามความต้องการ เพื่อให้สมดุลกับปริมาณน้ำเสียและของเสียที่เกิดขึ้นจริง การบำบัดน้ำเสียก็จะสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ภาพบนเป็นภาพจำลองกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( บ่อที่ 2 ) และ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนบ่อที่ 1 ) จะเห็นได้ว่าปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียจะเกิดขึ้น 2 ครั้งหรือ 2 จุด ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศทั่วๆไป ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในบ่อเติมอากาศเพียงบ่อเดียวเท่านั้น ( นอกจากมีการเสริมบ่อเติมอากาศเพิ่มขึ้น ) ภาพบนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในน้ำเสียจะเกิดขึ้นตั้งแต่บ่อแรก ( เติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าลงในบ่อแรก ) ก่อนที่จะส่งไปย่อยสลายต่ออีกครั้งในบ่อที่ 2 ( บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักรอย่อยสลายของเสียที่เหลือในน้ำเสียที่ส่งมาจากบ่อแรก ส่งผลให้เกิดการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียซ้ำ ( Double Treatment ) ทำให้ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียทำได้ดีมากขึ้น ของเสียที่เป็นกากตะกอนส่วนเกินในบ่อสุดท้ายเหลือน้อย ( Excess Sludge ) นำไปกำจัดทิ้งหรืออาจนำกลับไปบำบัดซ้ำอีกครั้งหรือหลายๆครั้งได้ ซึ่งที่สุดของการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายจะได้ผลผลิตตามสมการจำลองด้านล่าง เราคือ ผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียโดยตรง ไม่ผ่านตัวแทน ราคาจุลินทรีย์ที่เราจำหน่ายเป็นราคาผู้ผลิต จุลินทรีย์ของเราเป็นชนิดเข้มข้นสูง ไม่เก่าเก็บ ประการสำคัญคือมีกลิ่นหอมย่อยสลายของเสียได้เป็นอย่างดี เหมาะสำหรับใช้บำบัดน้ำเสียที่เกิดจากสารอินทรีย์ เป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลายของเสียหรือน้ำเสีย ไม่ดึงออกซิเจนในน้ำมาใช้ในการย่อยสลายของเสีย จึงทำให้น้ำมีออกซิเจนอย่างเพียงพอ ( กรณีที่ระบบมีการเติมอากาศออกซิเจนอยู่แล้ว ) ใช้ในการบำบัดน้ำเสียได้ประโยชน์อย่างน้อย 2 อย่างขึ้นไปคือ การบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย และการกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าหรืออีเอ็มหอมคาซาม่าประกอบไปด้วยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลายกลุ่มและหลากหลายสายพันธุ์ การสังเคราะห์จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพมารวมอยู่ในที่เดียวกัน มีจุลินทรีย์รวมอยู่ 5 แฟมิลี่ 10 จีนัส 80 สปีชีส์ เพื่อนำไปใช้งานแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ ถ้าท่านต้องการจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นที่มีกลิ่นหอมจริงๆ คิดถึง.....จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นอันดับแรก ผู้ผลิตและจำหน่ายอีเอ็มหอม/emหอม แบรนด์ คาซาม่า ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) สำหรับบำบัดน้ำเสีย และกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ทุกชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์ ใช้แล้วหอมทันที เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์อีเอ็ม ( em , EM ) ซึ่งย่อมาจาก Effective Microorganisms ( EM ) ซึ่งเป็นกลุ่มของจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์หลากหลายกลุ่มนำมารวมกันไว้ในที่เดียวกัน จุลินทรีย์ ( Microorganisms )เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก มีทั้งที่มีประโยชน์ ที่เป็นกลาง และกลุ่มที่มีโทษ ซึ่งกลุ่มที่มีโทษนิยมเรียกว่าเชื้อโรคนั่นเอง โดยเนื้อแท้ของจุลินทรีย์จะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส อยู่ได้ในทุกสภาวะที่เหมาะสม ทั้งในสภาวะไม่มีออกซิเจนและมีออกซิเจน แต่อาจจะเป็นคนละกลุ่มกัน ในที่นี้จะขอกล่าวถึงกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์เท่านั้น ซึ่งก็มีทั้งกลุ่มที่อาศัยออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ( กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็ม หรือ อีเอ็ม ) ให้ประโยชน์ในหลายๆด้านด้วยกันซึ่งประโยชน์ที่ให้ต่อโลกใบนี้มีอีกมากมายที่เรายังไม่รู้ ซึ่งต้องขยายผลและศึกษาวิจัยไปเรื่อยๆถึงประโยชน์ของจุลินทรีย์ กลิ่นของอีเอ็ม( em )เป็นอย่างไร? อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า จุลินทรีย์อีเอ็มหรืออีเอ็มไม่มีสี ไม่มีกลิ่น เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ กลิ่นและสีที่เราท่านเห็นและสัมผัสนั้นก็คือ กลิ่นและสีจากกากของน้ำตาลที่ใช้เลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์นั่นเอง ทำไมบางสำนักจุลินทรีย์อีเอ็มจึงมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว ? คำตอบคือขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิตและการสังเคราะห์ของแต่ละสำนักเป็นหลัก ไม่ได้เกี่ยวข้องอะไรกับชีวิตของจุลินทรีย์อีเอ็ม เราจะมองจุลินทรีย์อีเอ็มที่ประโยชน์การนำไปใช้ประโยชน์มากกว่าอย่างอื่น จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็ม หรือ อีเอ็ม ( EM )นั่นเอง ที่แสดงเป็นอีเอ็มหอมเป็นเพราะเราได้พัฒนาในเรื่องของกลิ่นไปอีกชั้นหนึ่ง ให้มีกลิ่นหอมตอบสนองความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก ลูกค้าส่วนใหญ่ไม่ชอบกลิ่นอีเอ็มในสภาวะปกติ ซึ่งจะมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยวที่มาจากการหมักกากน้ำตาลเลี้ยงเพาะเชื้อจุลินทรีย์อีเอ็มให้ขยายตัวมากขึ้น ตัวอีเอ็มจริงๆเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากๆ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีประโยชน์หลายๆด้าน หนึ่งในประโยชน์หลายๆด้านก็คือ การดับกลิ่นหรือ กำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากสารอินทรีย์ทุกๆชนิดได้ดีเยี่ยม ตอบโจทย์ปัญหาเรื่องกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆกลิ่นเน่าเหม็นที่เกิดจากสารอินทรีย์ทุกๆชนิด ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า หรือ อีเอ็มคาซาม่า อีเอ็มหอมคาซาม่า emหอมคาซาม่า อีเอ็มคาซามา หรือ อีเอ็มหอมคาซาม่า ก็คือ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( แบรนด์ คาซาม่า ) เป็นตัวเดียวกัน เราได้พัฒนาในเรื่องของกลิ่นของอีเอ็มเดิมและความเข้มข้นความแข็งแรงของจุลินทรีย์อีเอ็มให้มากขึ้นกว่าเดิม เพื่อผลประโยชน์ของลูกค้าเป็นหลัก การดับกลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรง จุลินทรีย์คาซาม่าจะเข้าไปกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นเหล่านี้ รวมทั้งการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเหมือนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นประเภทใดได้บ้าง? จุลินทรีย์หอม-kasama ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ ( สารที่มาจากพืชและสัตว์ ) 2. กลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นส้วม กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำ 3. กลิ่นเหม็นจากปัสสาวะและอุจจาระทั้งคนและสัตว์เลี้ยงทุกชนิด 4. กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสีย ที่เกิดจากการเก็บของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสียทำให้เกิดกลิ่นเน่าเหม็นขึ้นมา 5. กลิ่นคาวเลือดหรือคาวปลาในโรงงานเชือดไก่ เชือดสุกร หรือโรงงานเชือดปลา เป็นต้น 6. กลิ่นจากบ่อขยะ หรือกลิ่นจากถังขยะที่ส่งกลิ่นเหม็นฟุ้งกระจายไปทั่วบริเวณ 7. กลิ่นเหม็นจากท่อระบายน้ำทิ้ง กลิ่นเหม็นจากน้ำที่เน่าเสีย 8. กลิ่นเน่าเหม็นจากไขมัน จากบ่อดักไขมันตามร้านอาหารหรือโรงอาหาร เป็นต้น 9. กลิ่นเหม็นจากการหมักพืชและสัตว์ 10. กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่นอกเหนือไปจากที่กล่าวมาทั้งหมด กลิ่นใดที่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าดับไม่ได้หรือกำจัดกลิ่นไม่ได้ ? กลิ่นที่เกิดขึ้นจากสารเคมีจำพวกกรดหรือด่างที่มีฤทธิ์ทำลายหรือกัดกร่อนสูง เราคือผู้ผลิตและจำหน่าย em หอม / อีเอ็มหอม em ที่มีกลิ่นหอม ในนาม จุลินทรีย์หอมคาซาม่า หรือ อีเอ็มหอมคาซาม่า( em หอมคาซาม่า) สำหรับใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัดและการบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ไม่พึงประสงค์ทุกๆชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์ em ที่มีกลิ่นหอม ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น รู้ลึกและรู้จริงในเรื่องการบำบัดน้ำเสีย ปรึกษาเราได้ที่นี่เพียงแห่งเดียวเท่านั้น ลูกค้าที่สั่งซื้อจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจากเราทุกๆท่านจะได้รับสิทธิ์ในการขอคำปรึกษาและให้คำแนะนำฟรีๆตลอดไป ได้ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น ( โปรดระวังของลอกเลียนแบบและแอบอ้างจากเรา เราไม่ได้อนุญาตให้ใครลอกเนื้อหาสาระและอื่นๆ ) em หอม ราคา ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) อีเอ็มหอม ราคา ราคาจำหน่าย แกลลอนละ 1,200 บาท มีปัญหาบ่อดักไขมันส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน น้ำเน่าเหม็นน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้
|