จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย ((( ข้อควรรู้จุลินทรีย์ในน้ำเสียจุลินทรีย์ในบ่อบำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร )))
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


จุลินทรีย์ในน้ำเสียจุลินทรีย์ในบ่อบำบัดน้ำเสีย

     

                  

สิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบคือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย) เป็นตัวจักรที่สำคัญและมีบทบาทมากที่สุดในกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด

วิกฤตน้ำเสียในบ่อบำบัดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ ในบ่อบำบัดน้ำเสียมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียน้อยหรือแทบไม่มีเลย จะทำให้เกิดสภาวะน้ำเสียวิกฤตรุนแรงมากขึ้นและติดตามมาด้วยกลิ่นไม่พึงประสงค์ฟุ้งกระจายไปทั่วบริเวณ อันเป็นที่มาของค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดของทางราชการ

ท่านรู้หรือไม่ว่า ในน้ำเสียทุกๆแห่งมีจุลินทรีย์ปะปนอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ มีทั้งประเภทที่มีประโยชน์ ( กลุ่มย่อยสลายของเสีย ) และกลุ่มที่มีโทษ ( ทำให้เกิดน้ำเสียและกลิ่นเน่าเหม็น ) กลุ่มที่เป็นกลางที่เข้าร่วมงานกับกลุ่มใดก็ได้ ทั้งประเภทที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน ในน้ำเสียอย่างที่กล่าวมาแล้วว่ามีจุลินทรีย์ปะปนอยู่หลากหลายกลุ่ม  แต่ที่เราต้องการจริงๆมีเพียงกลุ่มเดียวเท่านั้น นั่นก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆ ไม่ว่าจุลินทรีย์นั้นจะใช้ออกซิเจนเป็นหลักหรือไม่ใช้ออกซิเจนก็ได้ ขอให้เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียก็เป็นอันว่าใช้ได้แล้ว เราจะมุ่งเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ในน้ำเสีย เพื่อเปลี่ยนน้ำเสียให้เป็นน้ำดีให้ได้ เพราะนี่คือจุดประสงค์หลักของการสร้างระบบบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบ เพื่อบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นให้เป็นน้ำดีก่อนที่จะปล่อยทิ้งออกสู่สาธารณะสิ่งแวดล้อมต่อไป โดยธรรมชาติของจุลินทรีย์กลุ่มต่างๆจะอยู่แบบกระจัดกระจายกันไปตามแหล่งธรรมชาติ ที่เราออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียขึ้นมาก็เพื่อต้องการนำจุลินทรีย์มารวมตัวเป็นกลุ่มก้อนใหญ่ในบ่อบำบัดหรือระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อนำมัน ( จุลินทรีย์ ) มาใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ในน้ำเสียมีทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์เจอปนอยู่ในน้ำเสีย จึงทำให้ค่า BOD ในน้ำเสียสูง จุลินทรีย์ย่อยสลายจะทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียต่างๆที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ซึ่งจะส่งผลให้ค่า BOD ในน้ำเสียลดลง ยังไม่มีสิ่งใดมาทดแทนการย่อยสลายของเสียต่างๆแทนที่จุลินทรีย์ได้ในปัจจุบัน  ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ก็คือ มีปัญหาในเรื่องปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายในบ่อหรือในระบบไม่เพียงพอกับปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง และของเสียน้ำเสียล้นระบบ ( ล้นบ่อบำบัด ) บ่อยๆ น้ำเสียถูกระบายทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะโดยที่ไม่ได้บำบัด (  By - Pass ) ซึ่งถือว่าผิดกฎหมายสิ่งแวดล้อม  

จุลินทรีย์ในบ่อบำบัดน้ำเสีย

ในบ่อบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งก็จะมีจุลินทรีย์ทุกๆกลุ่มปะปนอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ทั้งกลุ่มที่มีประโยชน์ กลุ่มที่ให้โทษ กลุ่มที่เป็นกลาง เพียงแต่จะมีกลุ่มใดมากกว่ากันเท่านั้น ถ้าในบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษมีมากกว่ากลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ก็จะส่งผลให้บ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆวิกฤตน้ำเสียรุนแรงมากยิ่งขึ้นต่อไป สิ่งที่ต้องการมากที่สุดในบ่อบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบบำบัดก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย (บำบัดน้ำเสีย )นั่นเอง ( เป็นกลุ่มใช้ออกซิเจนเป็นหลักหรือไม่ใช้ออกซิเจนก็ได้ ) แต่ค่อนข้างทำได้ยาก เพราะต้องควบคุมระบบให้ดีมากพอสมควร ควบคุมสิ่งแวดล้อมและค่าพารามิเตอร์ต่างๆทุกตัวในน้ำเสียนั้นๆให้ได้ค่ามาตรฐานอย่างต่อเนื่อง น้ำเสียในบ่อบำบัดจึงจะออกมาเป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งต่อไป นี่คือความต้องการมากที่สุดของบ่อบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบในประเทศไทย เป็นคำตอบของการสร้างระบบบำบัดน้ำเสียขึ้นมาเพื่ออะไรนั่นเอง   ดังนั้น ในบ่อบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบจึงขาดจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียไม่ได้  ถ้าปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์หรือมีน้อยในบ่อบำบัดนั้นๆก็ย่อมก่อให้เกิดภาวะน้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้น ที่ระบบบำบัดน้ำเสียยังไม่สมบูรณ์และด้อยประสิทธิภาพก็มาจากสาเหตุนี้นี่เอง

ทำอย่างไรในบ่อบำบัดน้ำเสียของเราจึงจะมีจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ย่อยสลายของเสียมากขึ้นและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นที่ทราบอยู่แล้วว่า ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ หรือบ่อบำบัดน้ำเสียในทุกๆบ่อบำบัดล้วนต้องการกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆ ดังนั้น ทำอย่างไรในบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นจึงจะมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์มากพอ การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียก็มีผลต่อการเพิ่มปริมาณของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ เครื่องเติมอากาศในน้ำเสียก็มีผลต่อการเพิ่มของปริมาณของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ การเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบบำบัดน้ำเสียก็สามารถทำได้หลายวิธีด้วยกัน ต้องออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียให้เข้ากับสภาพของเสียที่เกิดขึ้น

การเพิ่มหรือการเติมจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียนอกจากระบบที่ต้องสมบูรณ์แล้วจึงจะทำได้ ยังมีวิธีที่ง่ายขึ้นนั่นก็คือ การเติมหรือเพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์เข้าไปในระบบหรือในบ่อบำบัด โดยการใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์สังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการ ( ผลิตขึ้น ) โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็ม หรือ อีเอ็ม ( EM ) ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้ดี ประการสำคัญจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะไม่ดึงออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆมาใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย จึงเหมาะกับการใช้งานในน้ำเสียที่ไม่ค่อยมีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มจะทำงานได้ดี ในสภาวะที่มีออกซิเจน จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก้ยังสามารถทำงานย่อยสลายได้ตามปกติ และสามารถทำงานแบบคู่ขนากันไปได้กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการบำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียได้ในทุกๆระบบ เพื่อให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียทำได้ดีมากยิ่งขึ้น การเติมหรือเพิ่มปริมาณของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์เข้าไปในบ่อบำบัดน้ำเสียเป็นเรื่องที่ดีและสมควรปฏิบัติมากๆ ยิ่งน้ำเสียมีมากและมีอย่างต่อเนื่องก็ควรหมั่นเติมจุลินทรีย์อย่างต่อเนื่องและให้มากพอกับปริมาณของเสียในน้ำเสียนั้นๆ

ใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียอย่างไรจึงจะออกมาสมบูรณ์เป็นน้ำดีได้ ? 

น้ำเสียจะมีสิ่งที่ปะปนหรือปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่สารปนเปื้อนจะเป็นสารอินทรีย์และสารเคมีบางส่วนปะปนกันอยู่ ในบางกรณีอาจทำให้น้ำเสียนั้นเกิดการเน่าเหม็นขึ้นถ้าปริมาณสารอินทรีย์มีมาก ส่งผลให้น้ำเสียนั้นๆยิ่งวิกฤติมากขึ้น น้ำเสียและของเสียที่ปะปนในน้ำเสียนั้นต้องถูกย่อยสลายและบำบัดโดยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ และปริมาณจุลินทรีย์ในระบบบำบัดน้ำเสียต้องมีปริมาณมากกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงจะเอาชนะของเสียและน้ำเสียที่เกิดขึ้นได้ ของเสียทุกๆอย่างในโลกนี้ ซึ่งรวมทั้งน้ำเสียด้วย ล้วนต้องอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ยังไม่มีสิ่งใดมาทดแทนการย่อยสลายของเสียต่างๆแทนจุลินทรีย์ได้ในปัจจุบัน น้ำดีหรือน้ำเสียวัดได้จากค่าพารามิเตอร์เช่น ค่า pH , BOD , COD , DO , SS , TTS เป็นต้น ยิ่งค่าออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆมีสูง ( ค่า DO มากกว่า 3 ขึ้นไป ) ยิ่งเป็นการดีและค่าอื่นๆได้มาตรฐานนั่นคือ น้ำดี  ค่าพารามิเตอร์ต่างๆจะแปรผันไปตามปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลาย ถ้าในระบบบำบัดน้ำเสียมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายจำนวนมาก จะส่งผลต่อค่าพารามิเตอร์ต่างๆเข้าใกล้ค่ามาตรฐาน จะเห็นว่า จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและน้ำเสียเป็นตัวจักรสำคัญในระบบบำบัดน้ำเสียที่จะทำให้น้ำเสียเปลี่ยนเป็นน้ำดีได้ นี่คือความสำคัญของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ในระบบบำบัดน้ำเสียอย่าให้ขาดจุลินทรีย์ย่อยสลายและอย่าให้จุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดมีน้อยจนเกินไป เพราะจะเกิดปัญหาหลายอย่างติดตามมาในภายหลัง

 น้ำดีและน้ำเสียสามารถแบ่งแยกได้ด้วยการวัดระดับ BOD (Biochemical Oxygen Demand/Biological Oxidation Demand) ซึ่งเป็นปริมาณของ O2 ที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ อาทิ สารประกอบ Hydrocarbons (น้ำมันเชื้อเพลิง) แอลกอฮอล์ และน้ำตาล เป็นต้น ดังนั้น น้ำที่มีค่า BOD ต่ำคือ น้ำที่ดี เพราะจุลินทรีย์ต้องการ O2 จำนวนน้อยในการย่อยสลายสารอินทรีย์ สำหรับประเทศไทยกำหนดไว้ว่าค่า BOD จะต้องเท่ากับหรือไม่เกิน 20 mg/l (มิลลิกรัมต่อลิตร) เมื่อค่า BOD ต่ำกว่า  20 mg/l  ค่า  DO มักจะสูงกว่า 3 ขึ้นไป

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้กับทุกๆระบบ  โดยเฉพาะกับระบบที่มีปริมาณจุลินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้ำมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย ( ระบบเติมอากาศทั่วๆไป ) น้ำเน่าเหม็นและน้ำที่เน่าเสียมีที่มาจากปริมาณจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้น

ราคาจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama )

ขนาดบรรจุแกลลอนขนาด 20 ลิตร ( มีขนาดเดียว )

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาแกลลอนละ 1,200 บาท   จัดส่งฟรีๆทั่วประเทศ         

มีปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียไม่สมบูรณ์ ปัญหาน้ำเสียในอาคาร บ่อดักไขมันส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน น้ำเน่าเหม็นน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน  บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ  ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama )บำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นในเวลาเดียวกัน เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ เพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบบำบัดน้ำเสียของท่านได้ดีมากขึ้น

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย , จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ได้ประโยชน์อย่างน้อย 2 ประการ คือ การบำบัดน้ำเสีย ( ใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ ) ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย และการกำจัดกลิ่นหรือการดับกลิ่น ใช้ในบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็นหรือระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่น้ำเริ่มเน่าเสีย จะมีกลิ่นหอมทันทีที่เริ่มใช้งาน ตอบโจทย์การบำบัดน้ำเสีย & กำจัดกลิ่นน้ำเน่าเหม็นในน้ำเสียในเวลาเดียวกัน

  จุลินทรีย์คืออะไร ?

จุลินทรีย์ (  Micro-organism  ) หรือจุลชีพ หรืออีกชื่อคือแบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กๆไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตาเปล่า เป็นสัตว์เซลล์เดียว มีทั้งประเภทให้ประโยชน์ ให้โทษ และเป็นกลาง จุลินทรีย์ในโลกนี้มีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน การดำรงชีพมีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน แบ่งตามคุณลักษณะมีอยู่ด้วยกัน 3 กลุ่มดังต่อไปนี้ .-

1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ให้ประโยชน์ต่อพืชและสัตว์ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน  กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10 % ( ชนิดใช้ออกซิเจน + ชนิดไม่ใช้ออกซิเจน ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ให้ประโยชน์ต่อพืชและสัตว์ในหลายๆด้าน จุลินทรีย์ที่อยู่ในนมเปรี้ยวก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ มีการนำมาใช้ประโยชน์ทั้งเป็นยาและอาหาร การหมักปุ๋ย ฯลฯ

2.  กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษหรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่สร้างปัญหาก่อเชื้อโรคต่างๆ ต่อพืชและสัตว์ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนเช่นกัน  กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10 % ของจุลินทรีย์โดยรวมทุกๆชนิด อาหารบูดเน่า แผลติดเชื้อ แผลเน่าก็มาจากจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ติดเชื้อแบคทีเรียก็คือจุลินทรีย์กลุ่มนี้นั่นเอง

3.   กลุ่มจุลินทรีย์ที่เป็นกลาง ซึ่งเข้าร่วมงานกับจุลินทรีย์กลุ่มใดก็ได้ใน 2 กลุ่มข้างต้น มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน  กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติประมาณ 80 % มากที่สุดในบรรดากลุ่มจุลินทรีย์ทั้งหมดในธรรมชาติ ( ตามแบบจำลองด้านบน )

       

( ข้อแนะนำสำหรับการบำบัดน้ำเสีย และ ระบบบำบัดน้ำเสีย )

ปัญหาของการบำบัดน้ำเสีย จุดที่ยากและสลับซับซ้อนมากที่สุดก็คือ ปัญหาทางด้านเทคนิคในระบบ ทั้งการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีหลายๆส่วนที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน เช่น ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากอะไร? ไม่ผ่านกี่ค่า ? แต่ละค่าต้องแก้ไขอย่างไร ? ปรับระบบอย่างไรเพื่อให้ระบบมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย? ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งต้องใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ ไม่ใช่เพียงแค่การใช้จุลินทรีย์บำบัดแล้วก็จบเพียงเท่านั้น ปัญหาทางด้านเทคนิคของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย การปรับลดบางค่า หรือการเพิ่มบางค่าในระบบบำบัดจะพบบ่อยๆ ซึ่งต้องอาศัยผู้ที่รู้ลึกและรู้จริงเท่านั้น 
ที่นี่..เราแนะนำและให้คำปรึกษาลูกค้าของเราฟรีๆ ( แต่ไม่ได้ลงมือทำให้ ) 
สิ่งที่ลูกค้าจะได้มากที่สุดจากเราก็คือการให้คำแนะนำและคำปรึกษาในการแก้ปัญหาในเรื่องการบำบัดน้ำเสียและการแก้ไขปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียของท่านอย่างถูกวิธี ซึ่งเป็นจุดที่สำคัญมากสำหรับการบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบ นี่คือจุดเด่นและจุดแตกต่างของเราที่ไม่เหมือนใครในการจำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียแบบมืออาชีพ ( ไม่ใช่มือสมัครเล่น ) 

จุลินทรีย์เกี่ยวข้องอะไรกับการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย ?

บรรดาของเสียทั้งหลายทั้งมวลบนโลกใบนี้ ซึ่งรวมทั้งน้ำเสียและของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ( กลุ่มที่มีประโยชน์กลุ่มที่ 1 ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายมีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ในน้ำเสียจะมีสิ่งปนเปื้อนและสิ่งสกปรกที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์แร่ธาตุต่างๆเจือปนอยู่ในน้ำเสีย สิ่งสกปรกที่เป็นมลสารทั้งหลายเหล่านี้จะถูกย่อยสลายให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลงเรื่อยๆจนสุดท้ายของวัฎฎจักรการย่อยสลายสสารเหล่านี้จะแปรเปลี่ยนรูปไปเป็น  พลังงาน + น้ำ + CO2  ตามภาพจำลองสมการด้านล่าง เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เพื่อจัดการบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้น จึงต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่มีประโยชน์นี้ ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลาย ของเสียต่างๆคงล้นโลกไปนานแล้ว ดังนั้น ในการบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งและทุกๆระบบจะขาดซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้โดยเด็ดขาด

   

ภาพบนเป็นภาพจำลองของปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งจะแปรเปลี่ยนสภาพของเสียที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ไปเป็น  น้ำ  +  พลังงาน  +  CO2 ( ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด ์ ) ของเสียต่างๆในโลกนี้ไม่ล้นโลกก็มาจากฝีมือของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียนี้เอง จุลินทรีย์รักษ์โลกก็คือจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้นี่เอง ช่วยให้ขยะไม่ล้นโลก ช่วยให้น้ำเสียไม่ล้นโลก ช่วยลดมลภาวะและมลพิษในสิ่งแวดล้อม รักษาสิ่งแวดล้อม

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ( ย่อยสลายของเสีย ) จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียยังแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อยด้วยกันตามลักษณะการดำรงชีพดังต่อไปนี้ .-

1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic  Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ขาดออกซิเจนไม่ได้ ต้องใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ รวมถึงใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีอยู่กระจัดกระจายอยู่ทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ

2. กลุ่มจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ( Anaerobic  Bacteria ) ซึ่งก็มีหลากหลายสายพันธุ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ 

กลุ่มจุลินทรีย์ที่จะแปรสภาพย่อยสลายของเสียต่างๆทั้งหลายทั้งปวง ต้องเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น ( ทั้งกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10% จุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่บำบัดน้ำเสียหรือย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จะเห็นได้ว่าระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ ( ทุกๆระบบ ) ออกแบบเพื่อรองรับการดึงออกซิเจนเข้าไปเติมในระบบบำบัด ( เติมในบ่อบำบัด ) เพื่อต้องการให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักมารวมกลุ่มเจริญเติบโตขยายเซลล์ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆ ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายยิ่งมาก ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียก็เกิดขึ้นมาก กากตะกอนของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะเหลือน้อยลงหรือลดลงตามศักยภาพการย่อยสลายของจุลินทรีย์  แต่ในความเป็นจริงแล้วเราไม่สามารถคอนโทรลหรือควบคุมจำนวนหรือปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนให้ได้ตามที่ต้องการในบ่อบำบัดน้ำเสีย ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในแต่ละช่วงเวลา อาจจะมีปริมาณมากเพียงพอกับการย่อยสลายของเสีย หรืออาจจะมีน้อยกว่าปริมาณของเสีย แต่ส่วนใหญ่ของระบบบำบัดน้ำเสียจะมีปัญหาปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดบ่อยๆ ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ในประเทศไทยจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( Activated  Sludge ) ระบบบำบัดชนิดนี้มีจุดอ่อนหลายจุดด้วยกัน ถ้าการบริหารจัดการดูแลและบำรุงรักษาไม่ดีพอระบบล้มเหลวได้ง่ายๆ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าหรือหลายๆค่าอาจไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด จะเห็นได้ว่าจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะควบคุมค่อนข้างยาก ( ควบคุมไม่ได้ตามที่ต้องการ ) ถ้าออกแบบสิ่งแวดล้อมของระบบบำบัดไม่เหมาะสมกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตของมันก็จะมีปัญหาระบบบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียไม่ทัน ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์เป็นประจำ นี่คือเรื่องราวของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย

 การสร้างจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย

อย่างที่กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักค่อนข้างควบคุมได้ยากและเพิ่มปริมาณไม่ได้ตามที่เราต้องการ มันจะอยู่แบบกระจัดกระจายตามดิน น้ำ อากาศ ซึ่งควบคุมได้ยาก ดังนั้น จึงมีการคิดค้นสังเคราะห์กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในด้านการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่สามารถควบคุมและเพิ่มปริมาณความหนาแน่นของจุลินทรีย์ได้ตามที่เราต้องการ สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ในห้องปฏิบัติการ นั่นก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มนี้สามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อมในสภาวะไร้ออกซิเจนหรือมีออกซิเจนก็ได้ ทำหน้าที่ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียได้เหมือนกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน จึงมีการนำมาทดแทนและเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในระบบบำบัดน้ำเสียทั่วๆไปทีมีปัญหาในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ ) จึงหมดปัญหาในการควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้ เราสามารถสร้างและสังเคราะห์จุลินทรีย์ย่อยสลายขึ้นมาทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย

ความสำคัญของจุลินทรีย์ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียในทุกๆระะบบบำบัดน้ำเสีย 

ในการบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งและทุกๆระบบ ไม่ว่าน้ำเสียที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นมา และไม่ว่าระบบบำบัดน้ำเสียนั้นๆจะลงทุนมากหรือลงทุนน้อยเพียงใดก็ตาม ทุกๆระบบที่สร้างขึ้นล้วนต้องใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งสิ้นในการบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ถึงแม้ในบางครั้งอาจใช้สารเคมีเข้าร่วมบำบัดด้วยในบางกรณี แต่กระบวนการย่อยสลายขั้นสุดท้ายก็มาจบลงที่จุลินทรีย์ย่อยสลายเหมือนเดิม น้ำเสียที่เกิดขึ้นในทุกๆแห่งล้วนต้องอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆ รวมถึงการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก็ต้องอาศัยจุลินทรีย์ทั้งสิ้น ซึ่งเท่ากับจุลินทรีย์ย่อยสลายเหล่านี้มีคุณประโยชน์ต่อโลกใบนี้ ช่วยพิทักษ์และรักษาไม่ให้ของเสียและน้ำเสียล้นโลกมาจนถึงปัจจุบันนี้ ลดมลพิษและมลภาวะให้กับโลก รักษาสิ่งแวดล้อม

กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไปมีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน แต่พอจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้

1. จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดใช้อากาศออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพ ( Aerobic  Bacteria )

2. จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพ ( Anaerobic  Bacteria )

จะเห็นได้ว่าจุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้จะทำหน้าที่บางอย่างคล้ายๆกัน นั่นก็คือ การทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้ดีเหมือนกัน ซึ่งสามารถนำมาทดแทนกันได้ เพื่อให้การย่อยสลายของเสียในน้ำเสียเป็นไปอย่างต่อเนื่องในบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย

ประเภทของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ

กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ ( Bio waste Water Treatment ) สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ตามชนิดของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการย่อยสลายของเสียที่เป็นสารอินทรีย์ในน้ำเสีย ได้แก่

1. การบำบัดน้ำเสียแบบใช้อากาศออกซิเจน (Aerobic wastewater treatment) เป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียสำหรับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มนี้ถ้าไม่มีออกซิเจน ( ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ) ก็ไม่สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพในน้ำเสียนั้นๆได้ น้ำก็จะเน่าเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตได้ทางกายภาพและเช็คค่า BOD

2. การบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้อากาศออกซิเจน (Anaerobic wastewater treatment) เป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียสำหรับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้อากาศออกซิเจนในการดำรงชีพและในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆ ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ( ค่า DO ) ไม่มีความจำเป็นสำหรับจุลินทรีย์กลุ่มนี้ (ไม่มีการดึงออกซิเนในน้ำเสียไปใช้ ) ดังนั้น ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียมีปริมาณเท่าใดก็ยังคงมีปริมาณไม่ลดลง  

ในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่ง จากระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบจะเกี่ยวข้องกับจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งสองกลุ่มนี้เป็นหลัก ถ้าขาดหรือปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ( ในทั้งสองกลุ่มนี้ ) แล้ว น้ำเสียทั้งหมดก็จะไม่ได้รับการบำบัดให้เป็นน้ำดี น้ำเสียและของเสียต่างๆคงล้นโลกใบนี้ไปนานแล้ว นี้คือ กระบวนการต่างๆในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี 

ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้จุลินทรีย์แบบคร่าวๆ ( ชนิดใช้ออกซิเจนเป็นหลัก )

ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ต่างๆซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้เกิดน้ำเน่าเสีย ทั้งนี้ จุลินทรีย์แต่ละชนิดสามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ได้ต่างกัน เช่น โปรตีน ไขมัน เป็นต้น อย่างไรก็ดี องค์ประกอบสำคัญที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์คือก๊าซ Oxygen (O2โดยกระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์จะได้ CO2 + น้ำ + พลังงาน  การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์และแสงแดดในบ่อ (Lagoon Treatment) แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนตามลำดับของการส่งน้ำ ได้แก่ จากบ่อพักให้ตกตะกอน (Sedimentation Pond) บ่อบำบัด (Oxidation Pond) และสิ้นสุดที่บ่อพักสุดท้าย (Polishing Pond) โดยมีบ่อพักให้ตกตะกอนจำนวน 1 บ่อ บ่อบำบัดจำนวน 3 บ่อ และบ่อพักสุดท้ายจำนวน 1 บ่อ ก่อนที่น้ำที่ได้รับการบำบัดแล้วจะถูกปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ โดยจากการทดลองพบว่า การพักน้ำในบ่อจะใช้เวลาทั้งหมด 7 วัน เพราะหากนานกว่านั้นจะทำให้เกิดภาวะเน่าซ้ำซาก (nutrificationของน้ำจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ของจุลินทรีย์

 น้ำดีและน้ำเสียสามารถแบ่งแยกได้ด้วยการวัดระดับ BOD (Biochemical Oxygen Demand/Biological Oxidation Demand) ซึ่งเป็นปริมาณของ O2 ที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ อาทิ สารประกอบ Hydrocarbons (น้ำมันเชื้อเพลิง) แอลกอฮอล์ และน้ำตาล เป็นต้น ดังนั้น น้ำที่มีค่า BOD ต่ำคือ น้ำที่ดี เพราะจุลินทรีย์ต้องการ O2 จำนวนน้อยในการย่อยสลายสารอินทรีย์ สำหรับประเทศไทยกำหนดไว้ว่าค่า BOD จะต้องเท่ากับหรือไม่เกิน 20 mg/l (มิลลิกรัมต่อลิตร)
แต่น้ำเสียส่วนใหญ่ในประเทศยังไม่ได้รับการบำบัดอย่างถูกวิธี ทั้งจากส่วนของโรงงานอุตสาหกรรมและบ้านเรือนทั่วไป

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม Kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียต่างๆและการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายในน้ำเสีย ( Anaerobic  Bacteria ) ไม่ว่าในน้ำเสียนั้นๆจะมีหรือไม่มีออกซิเจนก็ตาม จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียได้ทันที ซึ่งจะแตกต่างไปจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic  Bacteria ) ซึ่งจะขาดออกซิเจนไม่ได้โดยเด็ดขาด เหตุผลที่ต้องเติมอากาศลงในบ่อบำบัดน้ำเสียก็เพื่อการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนนี่เอง จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถทำงานย่อยสลายของเสียได้ทั้งในสภาวะไร้อากาศและมีอากาศ และสามารถทำงานแบบร่วมกัน ( ย่อยสลายของเสีย ) กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนได้ดี และมีคุณสมบัติพิเศษอีกประการหนึ่ง นั่นก็คือ การกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ โดยเฉพาะกลิ่นที่เกิดจากสารอินทรีย์ทั้งหลาย ( ทั้งพืชและสัตว์ ) ซึ่งคุณสมบัติข้อนี้จะไม่มีในกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จุลินทรีย์หอมคาซาม่าช่วยทั้งเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้มากขึ้นและเร็วขึ้น ส่งผลให้การย่อยสลายของเสียในน้ำเสียมีประสิทธิภาพมากขึ้นตามไปด้วย สามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบในประเทศไทย เสริมจุดด้อยของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศที่มีปัญหาปริมาณจุลินรีย์ย่อยสลายมีน้อย การเติมอากาศได้ไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด เครื่องเติมอากาศเสียหรือไม่มีเครื่องเติมอากาศเลย

  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเพิ่มประสิทธิภาพและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในจุดใด ?

เนื่องจากจุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีคุณสมบัติในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียเหมือนกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบออกแบบมาเพื่อต้องการดึงกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าระบบให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียในบ่อบำบัดที่สร้างขึ้นมา ระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( มากกว่า 90% ) ระบบบำบัดแบบเติมอากาศจะดึงเอาจุลินทรีย์ย่อยสลายในธรรมชาติมาใช้งานย่อยสลายของเสียต่างๆ แต่ไม่สามารถกำหนดหรือควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายให้มีมากเพียงพอกับปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงส่งผลให้ของเสียต่างๆบางส่วนในน้ำเสียนั้นๆถูกย่อยสลายได้ไม่หมด ยังคงมีของเสียส่วนหนึ่งตกค้างในระบบบำบัดและผ่านไปยังบ่อพักน้ำทิ้งเพื่อเตรียมปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์อยู่บ่อยๆและเป็นประจำ จะด้วยข้อจำกัดของระบบบำบัดหรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาเพิ่มประสิทธิภาพกำลังการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( ช่วยเพิ่มการย่อยสลายของเสีย ) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียให้เพิ่มขึ้นหรือมากขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง เป็นการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ถือว่าเป็นการบำบัดซ้ำหรือการย่อยสลายซ้ำ ( Double  Treatment ) ส่งผลให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้น เป็นปฏิกิริยาบำบัด 2 ชั้น หรือ 2 ขั้นตอนตามภาพจำลองด้านล่าง ซึ่งจะส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์มากหรือน้อยได้ตามความต้องการของผู้ใช้  กรณีที่ของเสียหรือน้ำเสียมีปริมาณมากก็สามารถเติมมากได้ตามความต้องการ เพื่อให้สมดุลกับปริมาณน้ำเสียและของเสียที่เกิดขึ้นจริง การบำบัดน้ำเสียก็จะสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น 

    

ภาพบนเป็นภาพจำลองกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( บ่อที่ 2 ) และ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนบ่อที่ 1 ) จะเห็นได้ว่าปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียจะเกิดขึ้น 2 ครั้งหรือ 2 จุด ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศทั่วๆไป ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในบ่อเติมอากาศเพียงบ่อเดียวเท่านั้น ( นอกจากมีการเสริมบ่อเติมอากาศเพิ่มขึ้น ) ภาพบนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในน้ำเสียจะเกิดขึ้นตั้งแต่บ่อแรก ( เติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าลงในบ่อแรก ) ก่อนที่จะส่งไปย่อยสลายต่ออีกครั้งในบ่อที่ 2 ( บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักรอย่อยสลายของเสียที่เหลือในน้ำเสียที่ส่งมาจากบ่อแรก ส่งผลให้เกิดการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียซ้ำ ( Double  Treatment ) ทำให้ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียทำได้ดีมากขึ้น ของเสียที่เป็นกากตะกอนส่วนเกินในบ่อสุดท้ายเหลือน้อย ( Excess  Sludge ) นำไปกำจัดทิ้งหรืออาจนำกลับไปบำบัดซ้ำอีกครั้งหรือหลายๆครั้งได้  ซึ่งที่สุดของการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายจะได้ผลผลิตตามสมการจำลองด้านล่าง

         

เราคือ ผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียโดยตรง ไม่ผ่านตัวแทน ราคาจุลินทรีย์ที่เราจำหน่ายเป็นราคาผู้ผลิต จุลินทรีย์ของเราเป็นชนิดเข้มข้นสูง ไม่เก่าเก็บ ประการสำคัญคือมีกลิ่นหอมย่อยสลายของเสียได้เป็นอย่างดี เหมาะสำหรับใช้บำบัดน้ำเสียที่เกิดจากสารอินทรีย์ เป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลายของเสียหรือน้ำเสีย ไม่ดึงออกซิเจนในน้ำมาใช้ในการย่อยสลายของเสีย จึงทำให้น้ำมีออกซิเจนอย่างเพียงพอ ( กรณีที่ระบบมีการเติมอากาศออกซิเจนอยู่แล้ว ) ใช้ในการบำบัดน้ำเสียได้ประโยชน์อย่างน้อย 2 อย่างขึ้นไปคือ การบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย และการกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสีย

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าประกอบไปด้วยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลายกลุ่มและหลากหลายสายพันธุ์ การสังเคราะห์จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพมารวมอยู่ในที่เดียวกัน มีจุลินทรีย์รวมอยู่ 5 แฟมิลี่ 10 จีนัส 80 สปีชีส์ เพื่อนำไปใช้งานแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ

1. กลุ่มจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria)
2. กลุ่มจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติก (Lactic acid bacteria)
3. กลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตเจน (Nitrogen fixing bacteria)
4. กลุ่มจุลินทรีย์แอคทิโนมัยซีทส์ (Actenomycetes)
5. กลุ่มจุลินทรีย์ยีสต์ (Yeasts)

  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น รู้ลึกและรู้จริงในเรื่องการบำบัดน้ำเสีย ปรึกษาเราได้ที่นี่เพียงแห่งเดียวเท่านั้น ลูกค้าที่สั่งซื้อจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจากเราทุกๆท่านจะได้รับสิทธิ์ในการขอคำปรึกษาและให้คำแนะนำฟรีๆตลอดไป ได้ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น ( โปรดระวังของลอกเลียนแบบจากที่อื่น )  

 

 


            


 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..