เพิ่มประสิมธิภาพระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ
สิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบคือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย) เป็นตัวจักรที่สำคัญมากที่สุดในกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด ดับกลิ่นน้ำเสีย ลดกลิ่นน้ำเสีย บำบัดกลิ่นน้ำเสีย เพิ่มค่า DO และลดค่า BOD ในบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำเสียทำให้ค่า SS , TSของแข็งลด ส่งผลให้ค่า BOD ลดลงไปด้วย ) มาเพิ่มประสิทธิภาพระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียของท่านด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama )จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic bacteria )ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมต้องที่นี่ที่เดียวเท่านั้น โปรดระวังมีของลอกเลียนแบบ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเพิ่มประสิทธิภาพและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในจุดใด ? เนื่องจากจุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีคุณสมบัติในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียเหมือนกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบออกแบบมาเพื่อต้องการดึงกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าระบบให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียในบ่อบำบัดที่สร้างขึ้นมา ระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( มากกว่า 90% ) ระบบบำบัดแบบเติมอากาศจะดึงเอาจุลินทรีย์ย่อยสลายในธรรมชาติมาใช้งานย่อยสลายของเสียต่างๆ แต่ไม่สามารถกำหนดหรือควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายให้มีมากเพียงพอกับปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงส่งผลให้ของเสียต่างๆบางส่วนในน้ำเสียนั้นๆถูกย่อยสลายได้ไม่หมด ยังคงมีของเสียส่วนหนึ่งตกค้างในระบบบำบัดและผ่านไปยังบ่อพักน้ำทิ้งเพื่อเตรียมปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์อยู่บ่อยๆและเป็นประจำ จะด้วยข้อจำกัดของระบบบำบัดหรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาเพิ่มประสิทธิภาพกำลังการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( ช่วยเพิ่มการย่อยสลายของเสีย ) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียให้เพิ่มขึ้นหรือมากขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง เป็นการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ถือว่าเป็นการบำบัดซ้ำหรือการย่อยสลายซ้ำ ( Double Treatment ) ส่งผลให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้น เป็นปฏิกิริยาบำบัด 2 ชั้น หรือ 2 ขั้นตอนตามภาพจำลองด้านล่าง ซึ่งจะส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์มากหรือน้อยได้ตามความต้องการของผู้ใช้ กรณีที่ของเสียหรือน้ำเสียมีปริมาณมากก็สามารถเติมมากได้ตามความต้องการ เพื่อให้สมดุลกับปริมาณน้ำเสียและของเสียที่เกิดขึ้นจริง การบำบัดน้ำเสียก็จะสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ภาพบนเป็นภาพจำลองกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( บ่อที่ 2 ) และ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนบ่อที่ 1 ) จะเห็นได้ว่าปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียจะเกิดขึ้น 2 ครั้งหรือ 2 จุด ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศทั่วๆไป ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในบ่อเติมอากาศเพียงบ่อเดียวเท่านั้น ( นอกจากมีการเสริมบ่อเติมอากาศเพิ่มขึ้น ) ภาพบนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในน้ำเสียจะเกิดขึ้นตั้งแต่บ่อแรก ( เติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าลงในบ่อแรก ) ก่อนที่จะส่งไปย่อยสลายต่ออีกครั้งในบ่อที่ 2 ( บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักรอย่อยสลายของเสียที่เหลือในน้ำเสียที่ส่งมาจากบ่อแรก ส่งผลให้เกิดการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียซ้ำ ( Double Treatment ) ทำให้ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียทำได้ดีมากขึ้น ของเสียที่เป็นกากตะกอนส่วนเกินในบ่อสุดท้ายเหลือน้อย ( Excess Sludge ) นำไปกำจัดทิ้งหรืออาจนำกลับไปบำบัดซ้ำอีกครั้งหรือหลายๆครั้งได้ ซึ่งที่สุดของการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายจะได้ผลผลิตตามสมการจำลองด้านล่าง
เราคือ ผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียโดยตรง ไม่ผ่านตัวแทน ราคาจุลินทรีย์ที่เราจำหน่ายเป็นราคาผู้ผลิต จุลินทรีย์ของเราเป็นชนิดเข้มข้นสูง ไม่เก่าเก็บ ประการสำคัญคือมีกลิ่นหอมย่อยสลายของเสียได้เป็นอย่างดี เหมาะสำหรับใช้บำบัดน้ำเสียที่เกิดจากสารอินทรีย์ เป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลายของเสียหรือน้ำเสีย ไม่ดึงออกซิเจนในน้ำมาใช้ในการย่อยสลายของเสีย จึงทำให้น้ำมีออกซิเจนอย่างเพียงพอ ( กรณีที่ระบบมีการเติมอากาศออกซิเจนอยู่แล้ว ) ใช้ในการบำบัดน้ำเสียได้ประโยชน์อย่างน้อย 2 อย่างขึ้นไปคือ การบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย และการกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสีย ความหมายของน้ำทิ้ง : น้ำทิ้ง หมายถึง น้ำเสียที่ผ่านการบำบัดและได้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งกำหนดไว้ หน้าที่โดยตรงของผู้ดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสีย หน้าที่ประจำซึ่งถือว่าเป็นงานที่ต้องปฏิบัติเป็นประจำอย่างต่อเนื่องของเจ้าของอาคารสำนักงานต่างๆ และนิติบุคคลอาคารชุดที่เป็นคอนโดมิเนียมทุกๆแห่งที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมของกรมควบคุมมลพิษ 1 . ดูแลและควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆส่วนให้อยู่ในสภาพพร้อมการใช้งานได้ตลอดเวลา การบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องจะมีผลต่อประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง หมั่นตรวจสอบเครื่องมือต่างๆให้พร้อมทำงานและสภาพบ่อบำบัดอยู่เป็นประจำ 2. ตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ของบ่อบำบัดน้ำเสียเป็นประจำทุกเดือน ( หรือไม่น้อยกว่า 3 เดือน / ครั้ง ) เก็บตัวอย่างน้ำเสียในบ่อที่ 1 ( ก่อนบำบัด ) และเก็บตัวอย่างน้ำในบ่อสุดท้าย ( ที่ผ่านการบำบัดแล้ว ) เข้าตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ต่างๆในห้องปฏืบัติการ เพื่อตรวจสอบค่ามาตรฐานน้ำเสียที่ทางราชการกำหนดไว้ บันทึกในตารางค่าพารามิเตอร์ในแต่ละเดือน
สำหรับค่าพารามิเตอร์ต่างๆที่ควรรู้ในระบบบำบัดน้ำเสียหรือในบ่อบำบัดน้ำเสีย - BOD ( บีโอดี ) ในน้ำเสีย คือ ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ในกระบวนการทางชีวเคมี มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l ) - COD ( ซีโอดี ) ในน้ำเสีย คือ ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในกระบวนการทางเคมี มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l ) COD (Chemical Oxygen Demand) คือ ปริมาณ O2ที่ใช้ในการออกซิไดซ์ในการสลายสารอินทรีย์ด้วยสารเคมีโดยใช้สารละลาย เช่น โพแทสเซียมไดโครเมต (K2Cr2O7) ในปริมาณมากเกินพอ ในสารละลายกรดซัลฟิวริกซึ่งสารอินทรีย์ในน้ำทั้งหมดทั้งที่จุลินทรีย์ย่อย สลายได้และย่อยสลายไม่ได้ก็จะถูกออกซิไดซ์ภายใต้ภาวะที่เป็นกรดและการให้ความร้อน โดยทั่วไปค่า COD จะมีค่ามากกว่า BOD เสมอ ดังนั้นค่า COD จึงเป็นตัวแปรที่สำคัญตัวหนึ่งที่แสดงถึงความสกปรกของน้ำเสีย - TS หรือปริมาณของแข็งทั้งหมด (Total Solids : TS ) ในน้ำเสีย มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l ) - SS หรือปริมาณของแข็งแขวนลอย (Suspended Solid : SS ) ในน้ำเสีย มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l ) - ค่า TKN หรือปริมาณไนโตรเจนในรูป TKN มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร( mg/l ) - ค่า F ( FO4 ) ปริมาณฟอสเฟต มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม/ลิตร ( mg/l ) - ค่า pH ความเป็นกรด-ด่าง (pH) สำหรับค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางตัวจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (2537)
- ค่าบีโอดี (BOD) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัม/ลิตร - ค่า SS หรือปริมาณของแข็งแขวนลอย (Suspended Solid : SS ) ไม่เกิน 30 มิลลิกรัม/ลิตร - ค่า pH 5 - 9 - TDS ไม่เกิน 500 mg/l - FOG ไม่เกิน 20 mg/l
ฯ ล ฯ จะเริ่มต้นบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียของท่านอย่างไร ? 1. อันดับแรกให้ทำการตรวจสอบระบบทั้งหมดว่ายังใช้การทำงานได้ดีอยู่หรือไม่ ? มีสิ่งใดที่มีปัญหาในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัดแล้วทำการแก้ไขปัญหานั้นๆ 2. อันดับต่อมาก็คือ การตรวจสอบหรือการเช็คค่าพารามิเตอร์ในระบบบำบัดและบ่อบำบัดน้ำเสียของท่าน โดยการเก็บตัวอย่างน้ำเสียตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ต่างๆในห้องปฏิบัติการว่าได้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งที่ทางราชการกำหนดหรือไม่ โดยการเก็บตัวอย่างน้ำเสียในบ่อแรก ( น้ำเสียก่อนบำบัด ) และ บ่อสุดท้าย ( น้ำเสียหลังบำบัดแล้ว ) ซึ่งจะทำให้รู้ค่าพารามิเตอร์ต่างๆทั้งก่อนบำบัด ( ในบ่อแรก ) และหลังบำบัด ( บ่อสุดท้าย ) ซึ่งจะทำให้รู้ว่าน้ำเสียในบ่อบำบัดของท่านผ่านมาตรฐานน้ำทิ้งหรือไม่ ระบบบำบัดน้ำเสียของท่านมีประสิทธิภาพหรือไม่ ค่าพารามิเตอร์ต่างๆในบ่อสุดท้ายจะเป็นตัวชี้วัดระบบบำบัดน้ำเสียของท่านว่าผ่าน ( บำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ )หรือไม่ผ่าน ( ล้มเหลว ) บ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียจะมีประสิทธิภาพมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างด้วยกัน และคำว่าประสิทธิภาพก็หมายถึงประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีนั่นเอง ต้องยอมรับในความเป็นจริงว่า บ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ประสิทธิภาพยังคงด้อยอยู่ โดยเฉพาะกับบ่อบำบัดน้ำเสียหรือระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศทั่วๆไป ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นแบบเติมอากาศ ในบางแห่งหรือบางอาคารมีแต่บ่อรับน้ำเสีย แต่ไม่มีการบำบัดน้ำเสียใดๆ เครื่องเติมอากาศก็ไม่มี หรือมีเครื่องเติมอากาศแต่กำลังต่ำด้อยประสิทธิภาพ บางแห่งเครื่องเติมอากาศเสีย บ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียต้องได้รับการดูแลและรักษาให้ดีอย่างต่อเนื่อง ควบคุมและดูแลระบบ ให้ระบบมีประสิทธิภาพบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีให้ได้อย่างต่อเนื่อง ระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพหมายถึงอะไร? ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ ความหมายนี้ก็คือ ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีความสามารถหรือมีศักยภาพในการบำบัดน้ำเสียทั้งหมดให้เป็นน้ำดีนั่นเอง น้ำดีวัดค่าได้จากค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ( ค่า pH , BOD , COD , DO, SS , TTS ฯลฯ ) และตัวที่ทำการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสียก็คือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียนั่นเอง ไม่จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนเป็นหลักหรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( Aerobic bacteria และ Anaerobic bacteria ) ก็ถือว่ามีความสำคัญต่อระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่ง ขาดเสียซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มนี้แล้วจะเกิดภาวะวิกฤตน้ำเสียขึ้นในระบบทันที จุดบอดหรือจุดด้อยของระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานต่างๆและอาคารชุดคอนโดมิเนี่ยมคือ ในเรื่องของพื้นที่ที่ใช้สร้างบ่อบำบัดน้ำเสียมีพื้นที่น้อยและจำกัด สร้างบ่อบำบัดน้ำเสียได้ไม่เต็มที่เท่าที่ควร ( อาคารสำนักงานทั่วๆไปและอาคารชุดคอนโดมิเนียมมีปริมาณน้ำเสียค่อนข้างมาก ) น้ำเสียมีมาก ในขณะที่บ่อรับน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียทำได้จำกัดและมีจำนวนบ่อรับน้ำเสียน้อยกว่าปกติ ( ส่วนมากไม่เกิน 3 บ่อ ) ในการบำบัดน้ำเสียนั้นต้องใช้ระยะเวลาบำบัดและย่อยสลาย ซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายจะทำหน้าที่นี้ ยิ่งน้ำเสียที่มีสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ยิ่งต้องใช้ระยะเวลาย่อยสลายนานมากขึ้น จึงส่งผลให้น้ำเสียตามอาคารสำนักงานและอาคารชุดส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของทางราชการกำหนดไว้ การที่จะทำให้ระบบบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพ ( บำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีได้ )ได้นั้นสามารถทำได้หลายวิธีด้วยกัน ซึ่งต้องดูข้อมูลของระบบบำบัดน้ำเสียแต่ละสถานที่เป็นหลักในการแก้ไขปัญหา อาจต้องแก้ไขทั้งทางด้านกายภาพ ชีวภาพหรือทางเคมี ซึ่งต้องใช้ทั้งความรู้รอบด้านและความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบำบัดน้ำเสียในการแก้ไขปัญหา ทำไมจึงต้องใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสียและย่อสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัด ? บรรดาของเสียทุกๆชนิดซึ่งรวมทั้งน้ำเสียด้วยจะถูกย่อยสลายและบำบัดโดยจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์โดยตรง ถือว่าเป็นหน้าที่ของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็ว่าได้ ถ้าปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายกลุ่มนี้แล้ว ของเสียและน้ำเสียต่างๆทั่วโลกก็คงจะล้นโลกใบนี้ไปนานแล้ว จุลินทรีย์มีอยู่ด้วยกันหลากหลายกลุ่มหลากหลายสายพันธุ์ ทั้งชนิดมีประโยชน์ ชนิดเป็นกลาง และชนิดให้โทษ และจุลินทรีย์ทั้งหมดที่กล่าวมายังมีทั้งกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและการดำรงชีพ ( Aerobic bacteria และ Anaerobic bacteria ) เราคัดเลือกเอาเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์เท่านั้นมาใช้งาน โดยเฉพาะการนำมาใช้งานในระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสีย เราจะคัดเลือกเอาเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียเท่านั้นเติมลงในระบบ การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียลงในบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง เพราะระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่สร้างขึ้นมาเพื่อต้องการดึงจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในธรรมชาติมาใช้งานบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัดและระบบบำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งจะขาดจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายไม่ได้อย่างเด็ดขาดหรือมีปริมาณน้อยก็จะเกิดปัญหาไม่สามารถบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีได้ต่อไป ดังนั้น จะเห็นว่าระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียใดจะมีประสิทธิภาพมากหรือน้อยหรือไม่มีประสิทธิภาพเลยขึ้นอยู่กับการควบคุมปริมาณของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ให้ได้มากเพียงพอกับของเสียและน้ำเสียหรือไม่ ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบต้องมีการบำรุงรักษาระบบอย่างต่อเนื่อง แต่ในความเป็นจริงมักจะปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นเรื่องจริงที่ต้องยอมรับ ถ้าไม่เกิดปัญหาการ้องเรียนขึ้นก็ปล่อยปละละเลยไปเรื่อยๆ เพราะประเทศไทยยังขาดระเบียบวินัยและสามัญสำนึกขั้นสูง ต้องรอให้ทางราชการตรวจสอบจึงค่อยลงมือแก้ไข จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัด รวมถึงการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย( Anaerobic bacteria ) ดังนั้น ถึงแม้ในบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลยหรือมีน้อย ก็ไม่มีผลในการทำงานย่อยสลายและบำบัดน้ำเสียของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ซึ่งสามารถทำปฏิกิริยาได้ทั้งในสภาวะไร้อากาศออกซิเจนและในสภาวะมีอากาศออกซิเจน และสามารถทำงานแบบคู่ขนานไปกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักได้โดยไม่ส่งผลเสียใดๆต่อระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ ในทางตรงกันข้ามกลับส่งผลดีต่อระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง ทำให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิมหลายเท่าตัว ปัญหาที่พบบ่อยๆในระบบบำบัดน้ำเสียแต่ละแห่ง ( บ่อบำบัดน้ำเสียแต่ละหน่วยงาน ) ก็คือ ปริมาณน้ำเสียมีมากกว่าปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย ซึ่งสามารถสังเกตุได้จากทั้งค่าพารามิเตอร์ของน้ำเสียในบ่อบำบัดและจากปัญหาในเรื่องกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ รวมไปถึงสีของน้ำเสีย สภาพของบ่อบำบัดน้ำเสียที่ขาดการดูแล ฯลฯ สิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นตัวชี้วัดถึงสภาพของน้ำเสียที่ยังไม่สามารถบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม การแก้ไขปัญหานี้ก็ด้วยการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเข้าไปในระบบ ( เติมจุลินทรีย์ลงในบ่อบำบัดน้ำเสีย ) ทำไมต้องเติมจุลินทรีย์ลงในบ่อบำบัดน้ำเสีย ? คำตอบก็คือ ถ้าระบบบำบัดน้ำเสียนั้นๆหรือบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆมีปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมากพอ ( มากกว่าปริมาณของเสียที่เกิดขึ้น ) ก็ไม่มีความจำเป็นที่ต้องเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในระบบหรือลงในบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ส่วนใหญ่จะมีปัญหาในเรื่องของปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่เพียงพอต่อปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ลงในบ่อบำบัดน้ำเสีย เพื่อทำให้การบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น การบำบัดน้ำเสียโดยใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆต้องใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลาย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆยังจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้. - 1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพเจริญเติบโต 2. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( ใช้วิธีการแลกอิเล็คตรอนกับสารประกอบต่างๆ ) อธิบายกระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ภาพบน ) จากภาพบนเป็นการบำบัดน้ำเสียระบบ AS เติมอากาศ ( จุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดใช้ออกซิเจน ) + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลาย ) จะเห็นได้ว่าถ้าเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบ AS เดิมในบ่อที่ 1 จะเป็นบ่อรับน้ำเสียและตกตะกอนเบื้องต้นธรรมดาเท่านั้น ( การย่อยสลายเกิดขึ้นน้อยมากในบ่อนี้ ) ก่อนที่จะผ่านเข้าไปบ่อเติมอากาศบ่อที่ 2 ซึ่งเป็นบ่อที่ทำการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้มากที่สุดในระบบนี้ ( บ่อย่อยสลายขงเสียโดยใช้จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) และส่งต่อไปยังบ่อพักน้ำทิ้งที่บำบัดแล้วในบ่อที่ 3 ( ตามภาพบน ) การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียส่วนใหญ่ในระบบ AS นี้จะเกิดขึ้นในจุดเดียวคือ บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี แต่เมื่อเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเข้าไปเพิ่มเติม ( ในบ่อที่ 1 ) จะเกิดการย่อยสลายในบ่อที่ 1 หรือบ่อแรกเพิ่มขึ้นทันทีอีกจุดหนึ่ง ( เหมือนบ่อเติมอากาศ ) กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ออกซิเจนจึงไม่มีความจำเป็นสำหรับจุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆได้ทันที จะเห็นได้ว่าการย่อยสลายของเสียเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 จุดหรือ 2 บ่อ ( บ่อที่ 1 และ บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งเป็นการบำบัดน้ำเสียแบบดับเบิ้ล คือ บ่อที่ 1 จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นตัวบำบัด ( ย่อยสลายของเสียต่างๆ )เป็นด่านแรกก่อนที่จะส่งต่อไปบำบัดอีกชั้นหนึ่งที่บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลาย ) จึงส่งผลให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและการบำบัดน้ำเสียทำได้ดีมากยิ่งขึ้น ค่าพารามิเตอร์ต่างๆจะลดลงตั้งแต่การย่อยสลายหรือการบำบัดในบ่อแรกแล้ว การบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆซ้ำในบ่อเติมอากาศ ( โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ยิ่งจะทำให้ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น BOD , SS , TDS , FOG , TKN ลดลงมากยิ่งขึ้นไปอีก ตะกอนต่างๆก็จะลดลงเหลือน้อยมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเป็นเพราะประสิทธิภาพการบำบัดสองชั้นดังกล่าว ( บำบัดด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อแรกและบำบัดด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศ) จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งดีขึ้นกว่าปกติที่เคยเป็น ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้นเป็นเพราะผลของการบำบัดหรือการย่อยสลายของเสีย 2 ชั้น ปฏิกิริยาการย่อยสลายก็จะรวดเร็วขึ้นกว่าปกติ ของเสียต่างๆในน้ำเสียจึงไม่เป็นภาระหนักให้กับบ่อเติมอากาศเพียงจุดเดียวอีกต่อไป ( ไม่เป็นภาระหนักให้กับจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ที่อาจย่อยสลายของเสียได้ไม่หมดหรือย่อยสลายได้เพียงบางส่วนเล็กน้อย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ในบ่อสุดท้ายบ่อยๆได้
สรุป จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในระบบ AS และยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศอีกชั้นหนึ่ง การย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพสูงเป็นพิเศษ ส่งผลให้ระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เป็นการบำบัดน้ำเสียโดยการใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจน ) และกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ทำให้สสารที่เจือปนอยูในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วๆไป หมายเหตุ : จุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ ( ในทั้งหมด 6 ระบบ ) นอกจากบำบัดน้ำเสียได้ดีแล้ว ยังมีคุณสมบัติเด่นๆในเรื่องของการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆเพิ่มอีกด้วย เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่าโดยตรง ไม่มีผ่านคนกลางใดๆทั้งสิ้น ให้คำแนะนำและคำปรึกษาฟรีกับลูกค้าของเราทุกๆแห่งในระบบบำบัดน้ำเสีย ไม่ว่าจะเป็นระบบเดิมๆหรือการสร้างระบบบำบัดน้ำเสียขึ้นมาใหม่ เราให้คำแนะนำฟรีๆ เพียงสั่งซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเราท่านจะได้รับสิทธิ์ในการปรึกษาจากเราทันทีและต่อเนื่องได้ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้กับทุกๆระบบ โดยเฉพาะกับระบบที่มีปริมาณจุลินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้ำมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย ( ระบบเติมอากาศทั่วๆไป ) น้ำเน่าเหม็นและน้ำที่เน่าเสียมีที่มาจากปริมาณจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้น ราคาจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama ) ขนาดบรรจุแกลลอนขนาด 20 ลิตร ( มีขนาดเดียว ) จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา จุลินทรีย์ดับกลิ่น ราคา ราคาแกลลอนละ 1,200 บาท จัดส่งฟรีๆทั่วประเทศ มีปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียไม่สมบูรณ์ ปัญหาน้ำเสียในอาคารสำนักงานค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ การบำบัดน้ำเสียยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ปัญหาเรื่องกลิ่น บ่อดักไขมันส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน น้ำเน่าเหม็นน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama )บำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นในเวลาเดียวกัน เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ เพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบบำบัดน้ำเสียของท่านได้ดีมากขึ้น
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่.. จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่.. เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่.. การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่..
[ ดูค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากอาคารสำนักงานชนิด( ขนาดต่างๆ )ต่างๆ คลิกดูที่นี่..]
[ ระบบบำบัดน้ำเสีย และ ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ คลิกที่นี่.. ]
ค่าพารามิเตอร์ต่างๆของอาคารสำนักงานแบบคร่าวๆ แต่ละขนาด ค่าพารามิเตอร์จะแตกต่างกันออกไปตามขนาดของอาคารสำนักงานเป็นหลัก
TKN (Total Kjeldahl Nitrogen) หมายถึงปริมาณรวมทั้งหมดของ ไนโตรเจนอนินทรีย์และแอมโมเนีย-ไนโตรเจนที่อยู่ในโปรตีนของพืชและสัตว์
เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับระบบบำบัดน้ำเสีย
|