จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย เราจะบำบัดน้ำเสียอย่างไรให้ของเสียเหลือน้อยที่สุดเพื่อให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านได้ง่ายขึ้น
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


บำบัดน้ำเสียอย่างไรให้เหลือของเสียน้อยที่สุด

           

                   

สิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบคือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย เป็นตัวจักรสำคัญในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด

จะบำบัดน้ำเสียอย่างไร ? ให้ Waste  เป็น   0 ( ศูนย์ ) หรือของเสียเป็นศูนย์ ไม่มีกากตะกอนส่วนเกินเหลือค้างเลยตามสมการด้านล่าง ซึ่งเป็นการทำปฏิกิริยาย่อยสลายที่สมบูรณ์แบบ 100% ( ไม่เหลือกากตะกอน )

   

การบำบัดน้ำเสียให้ของเสียในขั้นตอนสุดท้ายเหลือน้อยที่สุด ล้วนเป็นที่ปรารถนาของระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ ในความเป็นจริงปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียแบบสมบูรณ์ 100% ไม่มีของเสียเหลือไม่มีกากตะกอนใดๆตกค้างเลย ( ของเสียเป็นศูนย์ )เกิดขึ้นได้จริงหรือไม่ ? ในระบบบำบัดน้ำเสียคงเกิดขึ้นได้ค่อนข้างยาก นอกจากทำการบำบัดซ้ำแล้วซ้ำอีกหลายๆรอบ จนกว่าของเสียจะไม่มีเหลือแม้แต่นิดเดียว หรือนำน้ำเสียนั้นๆไปบำบัดผ่านเครื่องกลั่นเป็นน้ำบริสุทธิ์ที่ไม่มีแร่ธาตุใดๆเลย วัตถุประสงค์ของการบำบัดน้ำเสียจริงๆก็เพื่อให้เหลือของเสียที่เจือปนในน้ำเสียนั้นๆเหลือน้อยที่สุด  เพื่อลดมลภาวะและมลพิษไม่ส่งผลเสียและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวม น้ำเสียที่ทำการบำบัดแล้วผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้งที่ทางราชการกำหนดไว้ก็ถือว่าใช้ได้แล้ว เพราะการบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบต้องมีกากตะกอนส่วนเกิน ( Excess  Sludge ) เหลือตกค้างในระบบไม่มากก็น้อย ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพการบำบัดของแต่ละระบบบำบัดเป็นหลัก ถ้าประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียของระบบบำบัดทำได้ดีมากๆ ก็จะเหลือเศษกากตะกอนน้อย  การบำบัดและย่อยสลายของเสียหลายชั้นและหลายขั้นตอนของปฏิกิริยาการย่อยสลาย ( ปฏิกิริยาการย่อยสลายเกิดขึ้นแบบซ้ำๆหรือแบบวนซ้ำ ) จะส่งผลให้กากตะกอนในบ่อสุดท้ายเหลือน้อย ซึ่งจะส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้น การบำบัดของเสียในน้ำเสียให้ค่าของเสียเป็นศูนย์เกิดขึ้นได้ยาก อาจเป็นเพียงในทฤษฎีสมการเท่านั้น ซึ่งที่สุดของที่สุดของปฏิกิริยาการย่อยสลายขั้นสุดท้ายจริงๆก็จะไม่เหลือของเสียที่เป็นกากตะกอนส่วนเกินเลย ( Excess  Sludge ) ซึ่งเกิดขึ้นค่อนข้างยากมาก ถ้าปฏิกิริยาการย่อยสลายได้สมบูรณ์ 100% ดังสมการด้านบน ของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( ของแข็งและอื่นๆ ) จะแปรเปลี่ยนสภาพของสสารกลายไปเป็น =>> น้ำ + พลังงาน + ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) ซึ่งก็คือ ของเสียหรือ Waste เป็น ศูนย์ นั่นเอง ปฏิกิริยาการย่อยสลายอาจเกิดขึ้นซ้ำๆหลายๆครั้ง ( ขึ้นอยู่กับปริมาณของเสียในน้ำเสียนั้นๆ) ถ้าของเสียในน้ำเสียมีไม่มาก ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียอาจเกิดขึ้นวนซ้ำไม่หลายครั้งมาก ( ดังภาพด้านล่าง )

   

ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียจะเกิดขึ้นและวนซ้ำอยู่เช่นนี้จนกว่า Waste จะเป็น ศูนย์ ( 0 ) ได้  น้ำ + พลังงาน + ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตามสมการด้านบน ระบบบำบัดน้ำเสียในอุดมคติเช่นนี้ต้องมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียสูงมากๆ ทุกขั้นตอนการบำบัดและการย่อยสลายของเสียต้องมีความสมบูรณ์ทั้งหมด ขาดตกหรือบกพร่องในจุดใดจุดหนึ่งก็ไม่ได้ ซึ่งอาจเทียบได้กับกรณีการกลั่นน้ำที่ไม่เหลือแร่ธาตุใดๆตกค้างเลย แต่ส่วนใหญ่ของการบำบัดน้ำเสียในขั้นตอนสุดท้ายจมีกากตะกอนส่วนเกิน ซึ่งเป็นตะกอนละเอียด ส่วนใหญ่จะนำไปกำจัดทิ้งหรือไม่ก็นำกลับไปบำบัดซ้ำในบ่อเติมอากาศอีกครั้งวนรอบอญุ่เช่นนี้จนกระทั่งไม่เหลือของเสียตกค้างเลย ( ของเสียเป็นศูนย์ )  

บำบัดน้ำเสียอย่างไรให้ของเสียที่เจือปนอยู่ในน้ำที่บำบัดแล้วเหลือของเสียน้อยที่สุด ?

บำบัดน้ำเสียให้เหลือของเสียน้อยที่สุดเป็นที่ปรารถนาของระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ  ( ได้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งดีที่สุด ) ทุกๆระบบบำบัดน้ำเสียออกแบบมาเพื่อทำการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม แต่จะมีสักกี่แห่งที่ระบบบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้ออกมาเป็นน้ำดี ได้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ทุกๆครั้ง ประเทศไทยระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ ( มากกว่า 90% ) จะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( Activated  Sludge ) ซึ่งเป็นระบบบำบัดที่ไม่สลับซับซ้อนมากนัก บริหารจัดการดูแลและควบคุมได้ง่าย มีทั้งลงทุนจากน้อยๆไปจนถึงลงทุนสูงก็มี ( ขึ้นอยู่กับคุณภาพน้ำเสียและปัจจัยประกอบอื่นๆ ) จุดอ่อนของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศก็มีอยู่หลายๆจุด โดยเฉพาะจุดเติมอากาศหรือถังเติมอากาศ ซึ่งเป็นจุดที่ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเกิดขึ้นมากที่สุดในจุดนี้ ถ้าในจุดนี้ไม่มีความสมบูรณ์จะเกิดปัญหาขึ้นได้ การเติมอากาศสมบูรณ์หรือไม่ ? เครื่องเติมอากาศมีความพร้อมหรือไม่ ? เติมอากาศได้ทั่วถึงกระจายทั้งบ่อบำบัดหรือไม่ ? จุลินทรีย์ย่อยสลายมีมากพอหรือไม่ ? ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการบำบัดทั้งสิ้น ในการบำบัดน้ำเสียให้ของเสียเหลือน้อยมากที่สุดจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักๆหรือหัวใจหลักของการบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบบำบัด นั่นก็คือ จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียนั่นเอง เพราะเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดที่ทำการย่อยสลายของเสียต่างๆในโลกนี้ให้แปรเปลี่ยนสภาพจากของเสีย ( สสาร )จากโมเลกุลใหญ่ไปเป็นโมเลกุลเล็กๆลงเรื่อยๆและย่อยสลายต่อๆไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายกลายไปเป็น  น้ำ + พลังงาน + CO2 ตามภาพจำลองด้านบน ในการที่จะทำให้ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียออกมาสมบูรณ์คือการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้มากที่สุด ( จนเหลือของเสียน้อยที่สุด ) นั้น ก็ด้วยการทำปฏิกิริยาย่อยสลายแบบซ้ำๆ เพื่อให้การย่อยสลายเกิดขึ้นได้มากที่สุดในแต่ละขั้นตอนของปฏิกิริยาการย่อยสลาย นั่นหมายความว่า ระบบบำบัดในแต่ละขั้นตอนของการย่อยสลายต้องมีประสิทธิภาพสูงมากพอสมควร ในบ่อเติมอากาศแต่ละบ่อต้องมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียมากพอที่จะทำการย่อยสลายของเสียได้มากที่สุด รวมไปถึงความแข็งแกร่งของจุลินทรีย์ต้องมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียได้เป็นอย่างดี ซึ่งขึ้นอยู่การจัดระบบและออกแบบสิ่งแวดล้อมให้กับจุลินทรีย์ในระบบบำบัดนั้นๆต้องเหมาะสมและสิ่งแวดล้อมดี เหมาะกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายตัวได้มาก ( ขยายเซล์ได้มากขึ้น ) 

        

ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ในประเทศไทย คือ ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS  (  Activated  Sludge ) ซึ่งมีมากกว่า 90% เป็นระบบที่เติมออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย ( บ่อเติมอากาศ ) โดยใช้เครื่องเติมอากาศ ( Aerator ) เติมออกซิเจนลงไปในบ่อน้ำเสีย เพื่อเพิ่มออกซิเจนให้กับน้ำเสีย และเพิ่มออกซิเจนในการดำรงชีพของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จุลินทรีย์กลุ่มนี้เมื่อได้รับออกซิเจนแล้วจะเจริญเติบโตและขยายตัวทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ) เพื่อให้ของเสียที่อยู่ในรูปของสสารและแร่ธาตุต่างๆกลายไปเป็น  ->  น้ำ + พลังงาน + CO2 ( คาร์บอนไดออกไซด์ ) ในที่สุดของปฏิกิริยาการย่อยสลาย กรณีที่มีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในบ่อเติมอากาศมาก ของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะถูกย่อยสลายได้มากขึ้นและเร็วขึ้น ในทางตรงกันข้าม ถ้าในบ่อเติมอากาศหรือในบ่อบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะถูกย่อยสลายน้อยตามไปด้วย ดังนั้น ตัวแปรที่สำคัญมากที่สุดในกระบวนการย่อยสลายให้ของเสียเหลือน้อยที่สุดจนกระทั่งวาระสุดท้ายจริงๆไม่เหลืออะไรเลยก็คือ จุลินทรีย์ย่อยสลายนั่นเอง ถ้าออกแบบระบบได้ไม่ดีก็มีผลต่อปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลาย 

ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพและการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย

- การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมหรือไม่ สิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปในระบบบำบัด

- การเติมอากาศได้ทั่วถึงทุกๆจุดของบ่อบำบัดหรือไม่

- อาหารเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์ให้เจริญเติบโตและขยายเซลล์มีเพียงพอหรือไม่

- ปริมาณออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆต้องมีปริมาณมากพอที่จุลินทรีย์จะนำไปใช้ในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย

- ค่า pH ต้องไม่ต่ำเกินไป และ ไม่สูงจนเกินไป เพราะจะทำให้จุลินทรีย์ตายยกบ่อได้ตลอดเวลา

     

จุดอ่อนของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( ระบบ AS )อยู่ตรงจุดใด ?

1. การเติมออกซิเจนไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด อาจจะด้วยเครื่องเติมอากาศมีกำลังวัตต์หรือกำลังแรงม้าต่ำ เติมออกซิเจนได้ไม่เพียงพอกับปริมาตรของน้ำเสีย จึงเติมออกซิเจนได้ไม่กระจายทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด ซึ่งจะส่งผลต่อปริมาณของจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศโดยตรง

2. เติมออกซิเจนไปไม่ถึงก้นบ่อบำบัด เพราะบ่อบำบัดลึกเกินไป ( บ่อเติมอากาศไม่ควรลึกเกิน 3 เมตร ) ออกซิเจนจะไปไม่ถึงก้นบ่อ ส่งผลเสียให้น้ำเสียและของเสียก้นบ่อไม่ได้รับการบำบัดและย่อยสลายเหมือนที่ผิวบ่อบำบัด

3. ต้องเติมออกซิเจนอย่างต่อเนื่อง ( เดินเครื่องเติมอากาศอย่างต่อเนื่อง )  เพื่อไม่ให้ปริมาณกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนลดปริมาณลง จะส่งผลเสียต่อการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้น้อยลงตามไปด้วย

4.  ไม่สามารถกำหนดปริมาณและความหนาแน่นของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนได้  ต้องปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติกำหนด  ถ้าต้องการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนให้มากขึ้น ต้องเพิ่มจำนวนบ่อบำบัดและเครื่องเติมอากาศ

      

ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ AS เติมอากาศสามารถเพิ่มบ่อเติมอากาศได้มากกว่า 1 บ่อได้ตามความต้องการ ซึ่งก็จะทำให้งบประมาณเพิ่มตามไปด้วย ไม่จำเป็นต้องมีเพียงแค่ 3 บ่อ ( ตามภาพด้านบน ) สามารถเพิ่มบ่อเสริมในแต่ละจุดได้ ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียได้ดีมากยิ่งขึ้น แต่ข้อเสียคือ งบประมาณเพิ่มตาม การควบคุมระบบก็จะยากขึ้นตามไปด้วย แต่ส่วนใหญ่จะสร้างบ่อบำบัดแค่ 3 บ่อ ( ตามภาพบน ) เพราะสะดวกและประหยัดดูแลง่าย แต่ข้อเสียคือ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งอาจไม่ผ่านในบางครั้ง หรือระบบล้มเหลวได้ง่ายๆ ถ้าการดูแลและบำรุงรักษาไม่ดีพอ ซึ่งส่วนใหญ่จะมีปัญหาในจุดนี้ จึงส่งผลให้น้ำทิ้งในบ่อสุดท้ายไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้ง  ดังนั้น จึงมีความจำเป็นต้องหาตัวช่วยเพื่อมาช่วยเพิ่มการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเกิดขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นนั่นเอง

     

ภาพบนนี้เป็นการจำลองระบบบำบัดน้ำเสียระบบ  AS แบบเติมอากาศ จะเห็นได้ว่า บ่อที่ 3 จะเป็นบ่อตกตะกอนละเอียด ซึ่งเป็นตะกอนส่วนเกิน ( Excess  Sludge ) ที่ระบบย่อยสลายหรือบำบัดได้ไม่หมดนั่นเอง ต้องนำไปกำจัดทิ้งหรือไม่ก็ดึงไปบำบัดในขั้นแรกอีกรอบ ปัญหาคือตะกอนส่วนเกินนี้ถ้าสะสมเป็นเวลานานๆในก้นบ่อจะทำให้เกิดการเน่าเสียขึ้นอีกได้ ( ค่า BOD ก็จะสูงตาม ) ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์หรือไม่เช็คได้ที่บ่อที่ 3 นี้หรือบ่อสุดท้ายของน้ำทิ้ง บ่อที่ 3 หรือบ่อพักน้ำทิ้งบ่อสุดท้ายก่อนปล่อยน้ำทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม

   ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ AS เติมอากาศหลายชั้น  ( ล่าง )  

จากภาพบนนี้เป็นการจำลองระบบบำบัดน้ำเสียแบบ AS เติมอากาศหลายชั้น ( เติมอากาศหลายบ่อ ) ซึ่งจะช่วยเร่งปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้มากยิ่งขึ้น สสารที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายตั้งแต่บ่อเติมอากาศที่ 1 ( บ่อที่ 2 บน ) แล้วไปย่อยสลายอีกชั้นหนึ่งในบ่อเติมอากาศที่ 2 ( บ่อที่ 3 ) ก่อนที่จะไปย่อยสลายอีกต่อหนึ่งที่บ่อเติมอากาศที่ 3 ( บ่อที่ 4 ) แล้วนำน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วลงในบ่อตกตะกอน  ( บ่อที่ 5 ) เมื่อตกตะกอนเสร็จแล้วจะส่งต่อไปยังบ่อที่ 6 ซึ่งเป็นบ่อพักน้ำทิ้งบ่อสุดท้ายก่อนที่จะปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม น้ำทิ้งในบ่อสุดท้ายนี้จะมีตะกอนเหลือน้อย เนื่องจากของเสียและตะกอนส่วนใหญ่จะถูกย่อยสลายให้เหลือลดน้อยลงตั้งแต่บ่อเติมอากาศที่ 1 จนถึงบ่อเติมอากาศที่ 3 ก่อนมาตกตะกอนอีกครั้งในบ่อตกตะกอนที่ 5 น้ำทิ้งในบ่อที่ 6 จึงมีตะกอนส่วนเกิน ( Excess  Sludge ) หรือปริมาณตะกอนละเอียดเหลือน้อย เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้ดีอีกขั้น แต่ข้อเสียก็คือ งบลงทุนเพิ่มในครั้งแรกของการสร้างระบบบำบัดและค่าไฟฟ้าจากเครื่องเติมอากาศทั้ง 3 จุดในแต่ละเดือน แต่ถ้าทำได้เช่นนี้ก็ถือว่าเป็นเรื่องดี ช่วยให้ระบบบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพการบำบัดดีขึ้น  ระบบบำบัดจากด้านบนนี้ค่าใช้จ่ายสูงจะทำอย่างไร ? อ่านเนื้อหาจากด้านล่างนี้วิธีแก้ไขปัญหาระบบบำบัดให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

     

เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบ AS เติมอากาศ และเพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนเข้าไปเพิ่มในระบบ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) เพื่อให้การย่อยสลายเกิดได้มากขึ้น ย่อยสลายของเสียได้มากขึ้นและเร็วขึ้น ( เสมือนการเพิ่มบ่อเติมอากาศเข้ามาในระบบบำบัด ) ไม่ว่าน้ำเสียนั้นๆจะมีออกซิเจนหรือไม่มีออกซิเจนเลย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้ทันที ไม่มีการเข้าไปแย่งออกซิเจนจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ของเสียในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายตั้งแต่บ่อที่ 1 ( ตามภาพบน ) ก่อนที่จะส่งไปย่อยสลายต่อยังบ่อเติมอากาศ ( บ่อที่ 2 ) จะเห็นได้ว่า การย่อยสลายของเสียเกิดขึ้นในสองจุดหรือสองบ่อด้วยกัน ( บ่อที่ 1 และบ่อที่ 2 ) 

   

ภาพบนการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย 2 ชนิด คือ

1. จุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายเป็นหลัก (  Aerobic  Bacteria  )  

2.  จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย (  Anaerobic  Bacteria  ) 

เป็นการบำบัดน้ำเสียที่เสริมจุดเด่นกัน โดยในบ่อแรกใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) เพื่อทำการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียเป็นจุดแรกหรือด่านแรก ซึ่งจะช่วยลดปริมาณของเสียต่างๆในน้ำเสียลง ทั้งค่า BOD , SS , TDS , FOG ก่อนที่จะส่งเข้าบำบัดต่อที่บ่อเติมอากาศ ( ตามภาพบน ) เพื่อทำการย่อยสลายของเสียต่างๆที่ผ่านมาจากบ่อที่ 1 ก่อนจะผ่านไปสู่บ่อตกตะกอนหรือบ่อพักน้ำทิ้ง ( บ่อสุดท้าย ) ตะกอนส่วนเกิน ( Excess  Sludge )จะนำไปกำจัดทิ้งหรือนำไปเป็นปุ๋ยพืช และส่วนหนึ่งอาจนำไปบำบัดซ้ำอีกครั้ง เพื่อให้เหลือของเสียน้อยที่สุด ( ย่อยสลายจนไม่เหลือของเสียหรือเหลือน้อยที่สุด ) ก็สามารถทำได้ 

ในการที่จะบำบัดน้ำเสียให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียเหลือน้อยที่สุดนั้น ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียต้องเกิดขึ้นมากที่สุด นั่นหมายความว่าปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต้องมีปริมาณมากพอ ( มากกว่าปริมาณของเสีย ) ปฏิกริยาการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องหลายๆชั้น จะส่งผลทำให้ของเสียต่างๆถูกย่อยสลายทำลายเหลือน้อยลงเรื่อยๆ ( กากตะกอนส่วนเกินเหลือน้อยลง ) จุดสำคัญหรือหัวใจสำคัญในการบำบัดน้ำเสียให้เหลือของเสียในระบบบำบัดน้อยที่สุดจึงอยู่ที่การควบคุมปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายให้เกิดปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียให้มากที่สุด เพื่อให้เหลือของเสียน้อยที่สุดนั่นเอง การเติมจุลินทรีย์เพิ่มเข้าไปในระบบจะช่วยเพิ่มปฏิกิริยาการย่อยสลายได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วๆไป  

  จะเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายให้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้อย่างไร ?

1. ด้วยการเพิ่มถังเติมอากาศหรือบ่อเติมอากาศในระบบบำบัดให้มากขึ้น ( ตามปริมาณของเสีย ) มากกว่า 1 จุดขึ้นไปตามภาพบน

2. ด้วยการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในระบบบำบัดโดยตรง ซึ่งส่วนใหญ่จะนิยมเติมกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ซึ่งสามารถทำได้ง่ายๆ ไม่ต้องสร้างระบบบำบัดขึ้นมาใหม่ให้สิ้นเปลืองงบประมาณ

  ทำไมต้องเติมอากาศในถังเติมอากาศ ? ไม่เติมอากาศได้ไหม ?

วัตถุประสงค์ของการเติมอากาศออกซิเจนลงในน้ำเสียก็เพื่อให้น้ำเสียนั้นๆมีค่าออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆมากขึ้น ( ตามปกติน้ำเน่าเสียจะแทบไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลย ) เพื่อให้สิ่งมีชีวิตนำออกซิเจนไปใช้ในการดำรงชีพและการเจริญเติบโต โดยเฉพาะจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะขาดออกซิเจนไม่ได้ การที่จะทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้จำเป็นต้องใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและการดำรงชีพเจริญเติบโตและการขยายเซลล์ ถ้าปราศจากออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียแล้ว การย่อยสลายของเสียก็ไม่เกิดขึ้น ( ยกเว้นมีการนำเอากลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนมาย่อยสลายทดแทน ) ดังนั้น การเติมอากาศลงในน้ำเสียจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมากและขาดไม่ได้ หรือเติมออกซิเจนได้น้อย เติมอากาศได้ไม่ทั่วถึงกระจายทั่วทั้งบ่อบำบัดก็มีปัญหากระทบต่อระบบบำบัดได้ นี่คือ เหตุผลที่ต้องเติมอากาศลงในน้ำเสียที่จะทำการบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม

  ศักยภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียของจุลินทรีย์ย่อยสลาย

ของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้มากหรือน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับปริมาณของจุลินทรียย่อยสลายและความแข็งแกร่งของจุลินทรีย์ และต้องมีปริมาณที่มากพอกับการย่อยสลายของเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้น เปรียบเหมือนกับการทำงานของมนุษย์ งานเรื่องเดียวกันปริมาณงานเท่าๆกัน  งานแห่งที่หนึ่งใช้กำลังคน 5 คน กับงานแห่งที่สองใช้กำลังคน 100 คน งานใดเสร็จได้รวดเร็วกว่ากัน เช่นเดียวกันกับการทำงานย่อยสลายของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลาย  ของเสียและน้ำเสียมีมาก แต่ปริมาณจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายมีน้อย ซึ่งไม่สมดุลกัน ประสิทธิภาพการย่อยสลายก็จะช้าลงและย่อยสลายของเสียต่างๆได้น้อยตามไปด้วย ส่งผลให้ตะกอนส่วนเกินเหลือเป็นจำนวนมาก ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งต่างๆไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด  

  

ภาพบนตัวอย่างการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic  Bacteria )

จำเป็นอย่างไรจึงต้องใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของท่าน ?

ถ้าระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียของท่านมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีได้สมบูรณ์แบบก็คงไม่มีความจำเป็นแต่ประการใด เรารู้ปัญหาในระบบบำบัดน้ำเสียจากประสบการณ์ที่สัมผัสกับลูกค้าจำนวนมากมาโดยตลอดเกือบ 20 ปี และช่วยแก้ปัญหาให้ลูกค้าประสบความสำเร็จมาจำนวนมาก โดยที่เราไม่ได้คิดค่าที่ปรึกษาใดๆทั้งสิ้น ลูกค้าที่สั่งซื้อจุลินทรีย์ไปจากเราจะได้รับคำแนะนำและคำปรึกษาฟรีโดยตลอด ระบบบำบัดน้ำเสียค่อนข้างต้องใช้ทั้งความรู้และความเชี่ยวชาญพอสมควร ต้องเข้าใจระบบแต่ละระบบอย่างดีพอ รวมทั้งวิธีการแก้ไขปัญหาของระบบต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาบูรณาการกัน เราไม่ได้จำหน่ายเพียงแค่จุลินทรีย์เท่านั้น แต่เราช่วยลูกค้าของเราด้วยในการแก้ไขปัญหาโดยที่ไม่ต้องจ่ายค่าที่ปรึกษาให้สิ้นเปลือง ซึ่งเป็นจุดที่ลูกค้าของเราถูกใจมากที่สุด ลูกค้าจะได้คำแนะนำและคำปรึกษาต่างๆที่มีค่ามากกว่าสินค้าที่ซื้อไปจากเรา ซึ่งเป็นนโยบายของทางร้านฯ ที่ต้องการให้ข้อแนะนำต่างๆกับลูกค้าได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เราขายความจริงและนำเสนอความจริงที่ลูกค้าควรรับทราบ  ถ้าระบบบำบัดน้ำเสียของลูกค้าสมบูรณ์อยู่แล้ว เราจะไม่จำหน่ายสินค้าให้ เพราะไม่มีความจำเป็นใดๆ เราจะพิจารณาปัญหาและความเหมาะสมและอีกหลายอย่างมาประกอบกัน เราต้องการเติมเต็มและแก้ปัญหาจุดด้อยให้กับลูกค้า เราจะวิเคราะห์ให้กับลูกค้าก่อนว่าสมควรซื้อหรือไม่ซื้อจุลินทรีย์จากเรา จะไม่มีการยัดเยียดอย่างเด็ดขาด และไม่มีการให้ข้อมูลแบบผิดๆกับลูกค้า เพื่อจูงใจให้ลูกค้าซื้อจุลินทรีย์จากเรา ซึ่งสังเกตได้จากที่เราจะเน้นให้ข้อมูลและความรู้ในเรื่องของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียกับลูกค้าให้มากที่สุด เพื่อให้ลูกค้าเข้าใจก่อน แล้วจึงค่อยตัดสินใจในภายหลัง นี่คือจุดประสงค์ของเราที่ต้องการช่วยเหลือลูกค้าในการแก้ไขปัญหาของลูกค้า ข้อมูลของร้านฯค่อนข้างมากเป็นพิเศษ เพื่อให้ลูกค้าศึกษาและทำความเข้าใจในด้านต่างๆอย่างละเอียด

ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดน้ำเสียหรือในบ่อบำบัดน้ำเสียลดลงหรือมีปริมาณน้อยดูได้จากจุดใด ?

1. น้ำเน่าเสียมากขึ้น

2. กลิ่นเน่าเหม็นมากขึ้นและแรงขึ้นเรื่อยๆ

3. ค่า BOD จะสูงขึ้นเรื่อยๆ

               

เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ในนามแบรนด์ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ( Anaerobic  Bacteria ) ทำงานได้ดีทั้งในสภาวะไร้อากาศและมีอากาศ ไม่ดึงออกซิเจนที่ละลายอยู่ใน ( น้ำเสีย ) มาใช้งานและการดำรงชีพ จึงทำให้ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆไม่ลดลง ( ค่า DO ) จึงเหมาะสำหรับเป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นบ่อบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น เป็นจุลินทรีย์จากธรรมชาติเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยตรง

จุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีกลิ่นหอม ซึ่งไม่เหมือนกลิ่นจุลินทรีย์อีเอ็มทั่วๆไปที่จำหน่ายในท้องตลาดที่มีกลิ่นฉุนเปรี้ยว ดังนั้นจึงได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียได้ดี และ การดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียได้ดี กลิ่นหอมทันทีที่เริ่มใช้ในบ่อบำบัดน้ำเสียของท่าน ซึ่งลูกค้าของทางร้านทั้งหมดทั่วประเทศจะชอบใจในจุดนี้เป็นอย่างมาก 

อธิบายกระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ภาพบน )

จากภาพบนเป็นการบำบัดน้ำเสียระบบ AS เติมอากาศ ( จุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดใช้ออกซิเจน ) + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลาย ) จะเห็นได้ว่าถ้าเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบ AS เดิมในบ่อที่ 1 จะเป็นบ่อรับน้ำเสียและตกตะกอนเบื้องต้นธรรมดาเท่านั้น ( การย่อยสลายเกิดขึ้นน้อยมากในบ่อนี้ ) ก่อนที่จะผ่านเข้าไปบ่อเติมอากาศบ่อที่ 2 ซึ่งเป็นบ่อที่ทำการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้มากที่สุดในระบบนี้ ( บ่อย่อยสลายของเสียโดยใช้จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) และส่งต่อไปยังบ่อพักน้ำทิ้งที่บำบัดแล้วในบ่อที่ 3 ( ตามภาพบน ) การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียส่วนใหญ่ในระบบ AS นี้จะเกิดขึ้นในจุดเดียวคือ บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี  แต่เมื่อเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเข้าไปเพิ่มเติม ( ในบ่อที่ 1 ) จะเกิดการย่อยสลายในบ่อที่ 1 หรือบ่อแรกเพิ่มขึ้นทันทีอีกจุดหนึ่ง ( เหมือนบ่อเติมอากาศ ) กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ออกซิเจนจึงไม่มีความจำเป็นสำหรับจุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆได้ทันที จะเห็นได้ว่าการย่อยสลายของเสียเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 จุดหรือ 2 บ่อ ( บ่อที่ 1 และ บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งเป็นการบำบัดน้ำเสียแบบดับเบิ้ล คือ บ่อที่ 1 จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นตัวบำบัด ( ย่อยสลายของเสียต่างๆ )เป็นด่านแรกก่อนที่จะส่งต่อไปบำบัดอีกชั้นหนึ่งที่บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลาย ) จึงส่งผลให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและการบำบัดน้ำเสียทำได้ดีมากยิ่งขึ้น ค่าพารามิเตอร์ต่างๆจะลดลงตั้งแต่การย่อยสลายหรือการบำบัดในบ่อแรกแล้ว การบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆซ้ำในบ่อเติมอากาศ ( โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ยิ่งจะทำให้ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น BOD , SS , TDS , FOG , TKN ลดลงมากยิ่งขึ้นไปอีก ตะกอนต่างๆก็จะลดลงเหลือน้อยมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเป็นเพราะประสิทธิภาพการบำบัดสองชั้นดังกล่าว ( บำบัดด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อแรกและบำบัดด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศ) จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งดีขึ้นกว่าปกติที่เคยเป็น ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้นเป็นเพราะผลของการบำบัดหรือการย่อยสลายของเสีย 2 ชั้น ปฏิกิริยาการย่อยสลายก็จะรวดเร็วขึ้นกว่าปกติ ของเสียต่างๆในน้ำเสียจึงไม่เป็นภาระหนักให้กับบ่อเติมอากาศเพียงจุดเดียวอีกต่อไป ( ไม่เป็นภาระหนักให้กับจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ที่อาจย่อยสลายของเสียได้ไม่หมดหรือย่อยสลายได้เพียงบางส่วนเล็กน้อย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ในบ่อสุดท้ายบ่อยๆได้

   สรุป

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในระบบ AS และยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศอีกชั้นหนึ่ง การย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพสูงเป็นพิเศษ  ส่งผลให้ระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เป็นการบำบัดน้ำเสียโดยการใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย 2  กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจน ) และกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ทำให้สสารที่เจือปนอยูในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วๆไป 

  หมายเหตุ  :   จุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ ( ในทั้งหมด 6 ระบบ ) นอกจากบำบัดน้ำเสียได้ดีแล้ว ยังมีคุณสมบัติเด่นๆในเรื่องของการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆเพิ่มอีกด้วย

จุลินทรีย์คาซาม่าเป็นการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพและมีประโดยชน์หลายๆด้าน โดยเฉพาะการบำบัดน้ำเสียและการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียให้ดียิ่งขึ้น เป็นการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์เข้าไปในระบบเพื่อย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะลำพังกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียอาจไม่เพียงพอ เหตุเพราะปริมาณน้ำเสียและของเสียในน้ำเสียมีปริมาณมากกว่ากลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนจะทำการย่อยสลายและบำบัดน้ำเสียได้ทั้งหมด ทางออกในการแก้ไขปัญหานี้จึงต้องพึ่งพาอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ( ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ) นั่นก็คือกลุ่มจุลิทรีย์อีเอ็มนั่นเอง ซึ่งมีความสามารถและทำหน้าที่คล้ายๆกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนที่มีอยู่ในธรรมชาติ ในสภาวะที่มีปัญหาน้ำเสียวิกฤตหนักๆ ในน้ำเสียมีจุลินทรีย์น้อยหรือแทบไม่มีเลย ( เพราะออกซิเจนในน้ำเสียมีน้อยหรือแทบไม่มีออกซิเจน ) กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนจำเป็นต้องอาศัยอากาศออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ถ้าไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนก็จะไม่มีในน้ำเสียหรือมีแต่มีปริมาณน้อยมากๆ จึงทำให้น้ำยิ่งเน่าเสียมากยิ่งขึ้น ในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ วัตถุประสงค์ทุกๆระบบเหมือนกันคือต้องการดึงกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนมาทำการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในระบบ ดังนั้น จึงต้องมีการเติมอากาศออกซิเจนเข้าไปในระบบให้เพียงพอ  แต่ส่วนใหญ่ในระบบจะได้อากาศออกซิเจนเติมเข้าไปในระบบน้ำเสียในปริมาณน้อย ไม่เพียงพอต่อการเพิ่มปริมาณกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในน้ำเสีย จึงส่งผลทำให้ระบบบำบัดน้ำเสียนั้นๆยังด้อยประสิทธิภาพอยู่ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีน้อยกว่าปริมาณของเสียและน้ำเสียที่เกิดขึ้นจริง   ทางออกจึงมาลงตัวที่กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็ม ( ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลานของเสียและบำบัดน้ำเสีย ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์แอนแอร์โรบิคที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ( ทำหน้าที่ได้เหมือนกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ตามความต้องการ ความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์มีมากกว่า สามารถทำปฏิกิริยาบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียในน้ำเสียได้ทันที เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ช่วยลดปริมาณน้ำเสียและของเสียในระบบบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบ โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียแบบง่ายๆชนิดเติมอากาศ ส่วนใหญ่จะมีปริมาณจุลินทรีย์ในระบบมีปริมาณน้อย

 จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจัดทำขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์ปัญหาดังที่กล่าวมาข้างต้น เราสังเคราะห์ขึ้นมาจากหัวเชื้อของจุลินทรีย์แบบไม่ใช้อากาศต้นฉบับโดยตรง เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลายด้าน มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย รวมไปถึงการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ สามารถทำงานร่วมกันกับจุลินทรีย์ชนิดใช้ออกซิเจนได้เป็นอย่างดี ทำหน้าที่คล้ายๆกัน ดังนั้น จึงสามารถนำมาใช้ทดแทนกันได้ ในสภาวะที่ในน้ำเสียไร้ออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียนั้น จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนไม่สามารถทำงานย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้  ดังนั้น จึงต้องหันไปเพิ่งกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มที่ไม่ใช้ออกซิเจนในน้ำเสียในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย นี่คือทางออกในการแก้ไขปัญหาในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ ( ค่า DO ต่ำหรือแทบเป็น 0 ) จุลินทรีย์อีเอ็มสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ง่ายกว่าจุลินทรีย์ชนิดที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ต้นทุนต่ำกว่าและง่ายกว่า ดังนั้น จึงเป็นทางเลือกในการ RUN & REBOOT ระบบบำบัดน้ำเสียของท่าน ไม่ว่าระบบจะเล็กหรือขนาดใหญ่ สามารถทำได้ทั้งนั้นในทุกๆระบบ เป็นผลดีต่อระบบโดยตรง  กรณีที่ระบบบำบัดน้ำเสียชนิด  AS หรือ  RBC ล่มหรือเสียรอซ่อม ก็สามารถนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปทดแทนได้ระหว่างรอซ่อมและ RUN ระบบอีกครั้ง โดยไม่ต้องรอให้ซ่อมแล้วเสร็จก่อน เพราะของเสียและน้ำเสียเกิดขึ้นในทุกๆวัน น้ำเสียที่เกิดขึ้นไม่สามารถรอระบบให้เสร็จก่อนได้ ต้องทำการบำบัดทันทีก่อนที่จะปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมต่อไป จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถใช้ได้ดีกับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา สังเคราะห์ขึ้นจากหัวเชื้อของจุลินทรีย์ต้นฉบับโดยตรง ไม่ใช่หมักจากเปลือกผลไม้ เป็นจุลินทรีย์ที่เข้มข้นและมีความหนาแน่นของจุลินทรีย์สูง สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลายอย่างด้วยกัน ทั้งการบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่น รวมถึงประยุกต์เป็นปุ๋ยในทางการเกษตรก็สามารถทำได้ เป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ดึงออกซิเจนในน้ำมาใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย แต่ช่วยเพิ่มออกซิเจนในน้ำจากการสังเคราะห์แสง

คุณสมบัติของจุลินทรีย์คาซาม่า

- ใช้บำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย

- ย่อยสลายสารอินทรีย์วัตถุให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลง

- ย่อยสลาย  Fat, Greas  &   Oil    ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ 

- ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ทุกชนิด

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama )

แกลลอนขนาด 20 ลิตร ( มีขนาดเดียว )

ราคาแกลลอนละ 1,200 บาท   จัดส่งทั่วประเทศฟรีๆ       

มีปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อย บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น ค่า BOD สูงมาก บ่อดักไขมันส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน น้ำเน่าเหม็นน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน  บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ  ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ


        

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..   

 

       

 จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น

ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ  คลิกดูที่นี่..  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. 

ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูที่นี่...   

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด  คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู  คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ  คลิกดูที่นี่..

การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะ / จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นขยะเหม็น  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น/ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น คลิกดูที่นี่..