จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย วิธีการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสียแบบมืออาชีพ
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสีย

     

                  

ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียจะผ่านเกณฑ์หรือไม่ผ่านเกณฑ์ ขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการของผู้ดูแลระบบบำบัดเป็นหลัก ถ้าดูแลและบริหารจัดการได้ดี การบำบัดน้ำเสียก็จะมีประสิทธิภาพ

วิธีการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย & บ่อบำบัดน้ำเสียอย่างมืออาชีพ

ในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีนั้น ต้องมีกระบวนการบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพดี จึงจะทำการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีได้ กระบวนการบำบัดน้ำเสียต้องสร้างเป็นระบบบำบัดขึ้นมา จึงเรียกกันว่า ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบบำบัดน้ำเสียโดยทั่วๆไปมีทั้งหมด 6 ระบบ แต่ระบบบำบัดน้ำเสียที่นิยมทำกันมากที่สุดคือ ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( Activated  Sludge : AS ) ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศจะประกอบไปด้วยส่วนที่สำคัญอยู่ 2 ส่วน คือ  บ่อเติมอากาศหรือถังเติมอากาศ  และบ่อตกตะกอนหรือถังตกตะกอน ( ตามภาพด้านล่าง ) ในการบำบัดน้ำเสียจะมีทั้งการบำบัดทางกายภาพหรือที่เรียกกันว่า การบำบัดน้ำเสียขั้นต้น โดยการแยกของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียออกให้มากที่สุด อาจจะด้วยการตกตะกอน การกรองหยาบ กรองละเอียดของเสียต่างๆในบ่อรับน้ำเสียรวม ( บ่อที่ 1 ภาพล่าง ) นำออกจากระบบไปกำจัดทิ้ง กรณีที่มีสารเคมีปนเปื้อนหรือเจือปนอยู่ในน้ำเสียในปริมาณมาก อาจต้องมีการเพิ่มการบำบัดด้วยเคมีอีกชั้นหนึ่ง ก่อนที่จะนำเข้าบำบัดต่อไปที่บ่อเติมอากาศ นี่คือ กระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบภาพรวมที่ผู้ควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียควรรู้ในเบื้องต้น เพื่อให้การบริหารจัดการระบบบำบัดได้ต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องมีความรู้และความเข้าใจในระบบบำบัดที่ควบคุมและดูแลอยู่เป็นอย่างดี

    ตัวอย่างระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียมและอาคารสำนักงานทั่วๆไป

   

ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารชุดและอาคารสำนักงานส่วนใหญ่จะเป็นดั่งภาพจำลองด้านบนนี้

อธิบายและขยายความจากภาพจำลองการบำบัดน้ำเสียด้านบนได้ดังต่อไปนี้ .-

น้ำเสียโดยรวมทั้งหมดเข้าระบบ ( บ่อรับน้ำเสียบ่อที่ 1 ) ตามหลักการจะมีการตกตะกอนในขั้นต้นในบ่อนี้ เพื่อนำของเสียที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียออกให้ได้มากที่สุด จะด้วยวิธีการตกตะกอน การกรองหยาบ การกรองละเอียด โดยการใช้ฟิลเตอร์กรองในบ่อที่ 1 ซึ่งจะช่วยลดภาระหนักในการย่อยสลายของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศ ( บ่อที่ 2 ) อีกทั้งช่วยลดค่า BOD, SS , TDS และ FOG ได้ส่วนหนึ่ง นำของเสียที่ตกตะกอนและที่กรองได้ไปกำจัดทิ้ง กระบวนการย่อยสลายของเสียของจุลินทรีย์ย่อยสลายในบ่อที่ 1 จะเกิดขึ้นน้อย เพราะในบ่อนี้มีปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ( เพราะไม่มีการเติมอากาศ ) การบำบัดน้ำเสียในบ่อที่ 1 เป็นการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น หลังจากนั้นน้ำเสียก็จะผ่านเข้าไปบำบัดต่ำที่บ่อเติมอากาศบ่อที่ 2 ( ตามภาพบน ) ในบ่อที่ 2 นี้จะมีปริมาณกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนมีปริมาณมาก เพราะมีการเพิ่มหรือเติมออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย เพื่อให้จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนได้ใช้งาน ทั้งในการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยา ในบ่อเติมอากาศนี้จะขาดออกซิเจนหรือมีออกซิเจนน้อยก็ไม่ได้ จะมีผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนทันที ในบ่อที่ 2 เติมอากาศนี้ต้องมีทั้ง อาหารและออกซิเจนเพียงพอกับความต้องการของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน ขาดอย่างใดอย่างหนึ่งก็ไม่ได้ อาหารของจุลินทรีย์ย่อยสลายก็คือ ของเสียที่เป็นสารอินทรีย์เจือปนอยู่ในน้ำเสียต้องมีปริมาณเพียงพอ ( ค่า SV 30 อยู่ที่ 200-300 ml. )รวมถึงอาหารเสริมจำพวก N , P และออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียต้องไม่น้อยกว่า  2 มิลลิกรัมขึ้นไป ( ค่า DO >= 2 mg/l ) ด้านสิ่งแวดล้อมในน้ำเสีย ค่า pH ความเป็นกรด-ด่างอยู่ระหว่าง 5 - 9 ต้องไม่ต่ำและไม่สูงเกินนี้ จุลินทรีย์กลุ่มนี้จึงจะอยู่ได้ กรณีที่ค่า pH ต่ำมากๆหรือสูงมากๆจะส่งผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนกลุ่มนี้ทันที อาจทำให้ตายยกบ่อได้ตลอดเวลา ดังนั้น จึงต้องมีการควบคุมและตรวจสอบค่า pH อยู่เป็นประจำ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน ในการควบคุมค่า pH ควรควบคุมมาตั้งแต่บ่อแรกรวมรับน้ำเสียบ่อที่ 1 จนถึงบ่อเติมอากาศบ่อที่ 2  การย่อยสลายของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียจะเกิดขึ้นมากที่สุดในบ่อเติมอากาศนี้ เหตุเพราะมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนมีปริมาณมาก แต่ปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะมีมากหรือมีน้อยนั้นยังขึ้นอยู่กับปัจจัยเหล่านี้คือ อาหารเพียงพอ  ออกซิเจนเพียงพอ การเติมออกซิเจนกระจายได้ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด สิ่งแวดล้อมเหมาะสมในการเจริญเติบโตและการดำรงชีพ กรณีที่มีปัญหาเพียงปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งตามที่กล่าวมาก็จะส่งผลกระทบต่อปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนทันที ในระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศนี้ปัญหาทางด้านเทคนิคมักจะเกิดขึ้นเป็นประจำและบ่อย ดังนั้น ต้องควบคุมและดูแลระบบให้ดีอย่างสม่ำเสมอจึงจะไม่เกิดปัญหาขึ้นกับระบบ หลังจากบำบัดน้ำเสียในบ่อเติมอากาศแล้ว น้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วจะนำไปตกตะกอนส่วนเกินในบ่อที่ 3 หรือบ่อตกตะกอน เพื่อนำเอาตะกอนส่วนเกินออกจากระบบ ( Excess  Sludge ) จะมีตะกอนละเอียดที่ผ่านมาจากการบำบัดในบ่อเติมอากาศเข้ามาในบ่อตกตะกอนหรือบ่อน้ำทิ้ง จะต้องนำตะกอนส่วนเกินนี้ไปกำจัดทิ้งฝังกลบดินหรือทำเป็นปุ๋ย ซึ่งจะมี N และ P สูงเหมาะนำไปทำปุ๋ยพืชผัก และอีกส่วนหนึ่งของตะกอนส่วนเกินนี้อาจนำไปบำบัดซ้ำเป็นอาหารของจุลินทรีย์ย่อยสลายในบ่อเติมอากาศ กรณีที่อาหารของจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศไม่เพียงพอ ( ตามภาพบน )จะเห็นได้ว่าเพียงแค่เริ่มต้นการบำบัดน้ำเสียของระบบบำบัดน้ำเสียยังมีความสลับซับซ้อนของระบบบำบัดมากขนาดนี้ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจะวัดและตรวจสอบที่บ่อพักน้ำทิ้ง ( บ่อตกตะกอนบ่อสุดท้าย ) ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ทุกๆค่าก็หมายความว่า ระบบบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียได้ดี แต่ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์เพียงค่าใดค่าหนึ่งหรือหลายๆค่า ก็ถือว่ายังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้งที่กำนหดไว้ ต้องทำการปรับปรุงระบบ จากภาพจำลองการบำบัดน้ำเสียด้านบนของคอนโดมิเนียมและอาคารสำนักงานทั่วๆไปจะมีบ่อเกรอะเข้ามาแจมในการบำบัดน้ำเสียของระบบบำบัด ในหลักการที่ถูกต้องแล้ว ต้องแยกน้ำเสียจากบ่อเกรอะไปบำบัดในขั้นต้นก่อนที่จะนำไปรวมกับน้ำเสียของระบบรวม เพื่อไม่ให้สร้างปัญหาต่อระบบบำบัด ซึ่งทำให้ระบบบำบัดล้มเหลวได้ง่ายๆ ค่า BOD , SS , TDS พุ่งสูงมากกว่าปกติ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากบ่อเกรอะที่ต่อตรงเข้ากับบ่อรับน้ำเสียรวมของระบบบำบัด แต่ในความเป็นจริงที่พบมาก็คือ การต่อน้ำเสียจากบ่อเกรอะเข้าโดยตรงกับบ่อรับน้ำเสียรวม โดยที่ไม่มีการแยกกาก ตะกอน ตะกรันในบ่อเกรอะออกจากระบบก่อน นี้คือจุดที่สร้างปัญหาให้กับระบบบำบัดน้ำเสียมากที่สุด ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาจะมาจากการรวมน้ำเสียกากตะกอน ฯลฯ จากบ่อเกรอะ แต่ในเมื่อติดตั้งแล้วและแก้ไขอะไรไม่ได้แล้ว ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้คือ การติดตั้งอุปกรณ์กรองกากและตะกรันที่ไปจากบ่อเกรอะ ให้กรองได้มากที่สุดแล้วนำไปกำจัดทิ้งไม่ให้สิ่งปฏิกูลกากและตะกรันเหล่านี้เข้าไปรวมในบ่อรับน้ำเสียรวมบ่อที่ 1 ซึ่งจะช่วยลดทั้งค่า BOD , SS, TDS ได้อย่างมาก ระบบบำบัดก็จะไม่ทำงานหนักจนเกินไป ไม่เป็นภาระหนักสำหรับการย่อยสลายของจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศ

   การบำรุงและดูแลรักษาระบบบำบัดน้ำเสีย

ในการบำรุงและดูแลระบบบำบัดน้ำเสียนั้น ต้องปฏิบัติหรือทำเป็นงานหลักหรืองานประจำ เพราะต้องดูแลระบบทุกๆส่วนเป็นประจำ เหมือนกับการควบคุมระบบให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ต้องทำหรือปฏิบัติอย่างไรบ้าง ? 

1. สร้างตารางแผนงานดูแลระบบขึ้นมา เป็นแผนงานดูแลและบำรุงรักษาระบบรายวัน รายเดือน และรายปี

2. ตรวจเช็คค่าต่างๆ ( ค่าพารามิเตอร์ที่จำเป็น ) ในแต่ละบ่อ เช่น การเช็คค่า pH รายวันในทุกๆบ่อบำบัด เช็คค่า BOD ค่า DO เพื่อทำให้เราทราบว่าค่า BOD สูงจะแก้ไขอย่างไร หรือ ค่า DO ต่ำมากจะแก้ไขอย่างไร เป็นต้น ตรวจสอบเครื่องเติมอากาศอยู่เป็นประจำ การเติมอากาศในบ่อเติมอากาศกระจายได้ทั่วถึงทั้งบ่อหรือไม่ กำลังเครื่องเติมอากาศเพียงพอกับปริมาตรของน้ำเสียหรือไม่ ฯลฯ

3. ลงบันทึกข้อมูลต่างๆที่ตรวจสอบได้ในสมุดบันทึกรายวัน เพื่อเป็นประโยชน์ในการติดตามและวิเคราะห์ระบบ จะทำให้รู้ปัญหาและวิธีแก้ปัญหาได้ง่ายขึ้น การตรวจสอบของทางราชการก็จะทำได้ง่ายขึ้น เป็นที่น่าเชื่อถือในการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียได้ดี

4. ทำการรีบูทระบบบำบัด ( Reboot ) อย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อทำความสะอาดระบบไม่ให้มีตะกอนตกค้างมากจนเกินไป

5. นำตัวอย่างน้ำทิ้งไปตรวจเช็คในห้องแล็ปและออกรายงานผลรับรองทุกๆปี ปีละครั้ง

สำหรับรายละเอียดมากกว่านี้ให้ดูข้อมูลที่ลิ้งค์ด้านล่างสุด

ในการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียจากแต่ละแหล่งจะใกล้เคียงกัน ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศสามารถเพิ่มเติมหรือเสริมบ่อบำบัดเพิ่มขึ้นมาได้ไม่จำกัด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดให้ดียิ่งขึ้น การบำบัดน้ำเสียแบบหลายขั้นตอนหรือหลายๆชั้นมีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียได้ดี จะช่วยลดสลัดจ์ได้มาก เพราะในแต่ละบ่อจะมีการตกตะกอนละเอียดเป็นลำดับชั้นไปเรื่อยๆจนถึงบ่อสุดท้าย ซึ่งเป็นบ่อพักน้ำทิ้ง น้ำก็จะใสสะอาดตะกอนไม่ค่อยมีให้เห็นดังตัวอย่างระบบบำบัดน้ำเสียด้านล่างนี้

     

ภาพจำลองด้านบนเป้นกระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศหลายชั้น การบำบัดน้ำเสียจะมีประสิทธิภาพที่เหนือกว่าปกติทั่วๆไป เหลือเศษตะกอนส่วนเกินน้อย  แต่การลงทุนจะสูงกว่าปกติทั่วไป

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด ชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย

เพิ่มประสิทธิภาพและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า 

เนื่องจากจุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีคุณสมบัติในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียเหมือนกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบออกแบบมาเพื่อต้องการดึงกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าระบบให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียในบ่อบำบัดที่สร้างขึ้นมา ระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( มากกว่า 90% ) ระบบบำบัดแบบเติมอากาศจะดึงเอาจุลินทรีย์ย่อยสลายในธรรมชาติมาใช้งานย่อยสลายของเสียต่างๆ แต่ไม่สามารถกำหนดหรือควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายให้มีมากเพียงพอกับปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงส่งผลให้ของเสียต่างๆบางส่วนในน้ำเสียนั้นๆถูกย่อยสลายได้ไม่หมด ยังคงมีของเสียส่วนหนึ่งตกค้างในระบบบำบัดและผ่านไปยังบ่อพักน้ำทิ้งเพื่อเตรียมปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์อยู่บ่อยๆและเป็นประจำ จะด้วยข้อจำกัดของระบบบำบัดหรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาเพิ่มประสิทธิภาพกำลังการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( ช่วยเพิ่มการย่อยสลายของเสีย ) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียให้เพิ่มขึ้นหรือมากขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง เป็นการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ถือว่าเป็นการบำบัดซ้ำหรือการย่อยสลายซ้ำ ( Double  Treatment ) ส่งผลให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้น เป็นปฏิกิริยาบำบัด 2 ชั้น หรือ 2 ขั้นตอนตามภาพจำลองด้านล่าง ซึ่งจะส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์มากหรือน้อยได้ตามความต้องการของผู้ใช้  กรณีที่ของเสียหรือน้ำเสียมีปริมาณมากก็สามารถเติมมากได้ตามความต้องการ เพื่อให้สมดุลกับปริมาณน้ำเสียและของเสียที่เกิดขึ้นจริง การบำบัดน้ำเสียก็จะสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

      

 ภาพบนเป็นการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย 2 กลุ่ม คือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน และกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะได้รับการบำบัดย่อยสลายได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วไป


        

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..   

 

       

 จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น

ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ  คลิกดูที่นี่..  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. 

ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูที่นี่...   

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด  คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู  คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ  คลิกดูที่นี่..

การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะ / จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นขยะเหม็น  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น/ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 

 

 

 

   ( การบำบัดน้ำเสียและแนวทางบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย)