จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ใช้ออกซิเจนและจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนผลเป็นอย่างไร ?
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ใช้ออกซิเจนและจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน

ขอบคุณทุกๆท่านที่กรุณากด แชร์ ( Share )ให้กับจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย   

       

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย( Waste Water Treatment Microorganism )

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย เป็นสัตว์เซลล์เดียวมีขนาดเล็ก เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆได้ดี รวมทั้งการย่อยสลายของเสียที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย มีอยู่ทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ แต่อยู่แบบกระจัดกระจายไม่เป็นกลุ่มก้อน การที่จะดึงจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้มาใช้งานต้องออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม ซึ่งบางกลุ่มก็สามารถดึงได้ง่าย แต่บางกลุ่มดึงมาใช้งานได้ยาก อาจต้องสังเคราะห์ขึ้นมาใช้ต่างๆหากจึงจะทำได้ จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย )มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด( ตามลักษณะการดำรงชีพและทำปฏิกิริยา )ดังต่อไปนี้ คือ

1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย( บำบัดน้ำเสีย )ชนิดที่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพ เจริญเติบโต ขยายเซลล์ และการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะขาดออกซิเจนไม่ได้โดยเด็ดขาด หรือกรณีที่น้ำเสียมีปริมาณออกซิเจนต่ำ( ค่า DO น้อยกว่า 2 mg/l )ก็จะมีผลกระทบต่อจุลินทรีย์กลุ่มนี้ทันที แต่จุดดีคือการดึงมาใช้งานได้ง่าย ดังนั้น การบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จึงนิยมใช้จุลินทรีย์กลุ่มนี้เป้นหลัก ดูรายละเอียดทั้งหมดจากเนื้อหาด้านล่าง

2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย( บำบัดน้ำเสีย )ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน ทั้งในการดำรงชีพ การเจริญเติบโต การขยายเซลล์ และการย่อยสลายของเสีย ไม่ว่าในน้ำเสียจะมีออกซิเจนหรือไม่มีออกซิเจนเลยก็ตาม จะไม่ส่งผลกระทบใดๆต่อการดำเนินชีวิตและการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ซึ่งจะแตกต่างไปจากจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจน แต่จุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้มีความเหมือนกันตรงที่ผลลัพธ์ของปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสีย( บำบัดน้ำเสีย )จะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน คือ น้ำ พลังงาน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตามสมการด้านล่าง ดูรายละเอียดทั้งหมดจากเนื้อหาด้านล่าง 

 จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ใช้ออกซิเจน 

 ( Aerobic  Bacteria หรือ Aerobic  Microorganism )

       

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ใช้ออกซิเจน( Aerobic  Bacteria หรือ Aerobic  Microorganism )

เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ซึ่งรวมถึงการย่อยสลายของเสียทั่วๆไปด้วย จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้เป็นสัตว์เซลล์เดียว การดำรงชีพและเจริญเติบโต ขยายตัว( แบ่งเซลล์ )รวมถึงปฏิกิริยาการย่อยขยายของเสียจำเป็นต้องมีอาหาร คือ ของเสียต่างๆและอากาศออกซิเจนที่เพียงพอ จะขาดอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างก็ไม่ได้ ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่งในปัจจัยที่สำคัญทั้งสองอย่างที่กล่าวมานี้ตายทันที ดังนั้น การที่จะดึงกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ใช้ออกซิเจนนี้มาใช้งานบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย )จำเป็นจะต้องออกแบบระบบบำบัดและสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสมกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ให้ได้  ปัจจัยที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ คือ

1. อาหาร ซึ่งก็คือ บรรดาของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ส่วนใหญ่จะมีอาหารที่มากพอ ไม่ค่อยมีปัญหาในปัจจัยนี้

2. อากาศออกซิเจน ในน้ำเสียนั้นๆต้องมีปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียมากเพียงพอ( มากกว่าหรือเท่ากับ 2 mg/l ขึ้นไป )เพราะจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ต้องนำไปใช้ในการดำรงชีพ เจริญเติบโต ขยายเซลล์ และใช้ในปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสีย ถ้าออกซิเจนในน้ำเสียมีน้อยหรือไม่เพียงพอ( ค่า DO ต่ำกว่า 2 mg/l )จะส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์ย่อสลายกลุ่มนี้ทันที ดังนั้น ในระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ( ระบบ AS : Activated  Sludge )จึงต้องควรหมั่นเช็คค่า DO อยู่เป็นประจำ เพื่อจะทำให้ทราบว่า ในบ่อเติมอากาศมีปริมาณออกซิเจนให้กับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเพียงพอกับความต้องการใช้ในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย( บำบัดน้ำเสีย ) 

   สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับจุลินทรีย์กลุ่มนี้

สำหรับสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ เช่น อุณหภูมิของน้ำเสียต้องไม่ร้อนและเย็นจนเกินไป( อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 18 - 40 C ) ค่า pH ( ความเป็นกรด-ด่าง )ที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 5 - 9  และค่า DO >=  2 mg/l ขึ้นไป( ค่า DO ที่เหมาะสม 2-3 mg/l ) ในบ่อเติมอากาศควรเช็คค่าเหล่านี้อยู่เป้นประจำทุกวัน เพื่อให้ระบบบำบัดมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง และเมื่อเกิดปัญหาจะทำให้รู้และแก้ไขปัญหาได้รวดเร็ว 

สิ่งที่พึงเฝ้าระวังในระบบบำบัดน้ำเสีย

1. ไม่ควรให้ค่า pH ต่ำมากๆ หรือสูงมากๆ โดยเฉพาะในบ่อเติมอากาศ เพราะจะส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนโดยตรง ตายยกบ่อบำบัดได้ตลอดเวลา จุลินทรีย์ย่อยสลายตายสังเกตุจากกลิ่นของน้ำเสียเริ่มเหม็น น้ำเสียมีสีดำ ต้องรีบแก้ไขทันที โดยการปรับปรุงค่า pH ให้อยู่ในช่วง  5 - 9 ให้ได้

2. ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียหรือค่า DO ( Dissolved  Oxygen ) ในบ่อเติมอากาศ ควรควบคุมให้ค่า DO อยู่ในช่วง 2-3 mg/l ให้ได้  ( น้ำดื่มบริสุทธิ์ ค่า DO ประมาณ 5 mg/l ที่อุณหภูมิ 20 C )

     

ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ( AS )จะมีการเติมอากาศลงไปในน้ำเสียในบ่อเติมอากาศ( บ่อที่ 2 ) ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียในบ่อเติมอากาศ( ค่า DO )ต้องคอนโทรลให้ได้ในช่วง 2-3 mg/l จะเหมาะกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน

  จุดเด่นของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ใช้ออกซิเจน

- ดึงจากธรรมชาติมาใช้งานในการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย )ได้ง่ายๆ เพียงออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมก็สามารถดึงมาใช้งานได้แล้ว ดังนั้น ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่( มากกว่า 90% )จึงนิยมใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้มาบำบัดน้ำเสียในระบบ

  จุดด้อยหรือจุดอ่อนของจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ใช้ออกซิเจน

- ขาดออกซิเจน หรือออกซิเจนมีน้อยก็ไม่ได้ มีปัญหาทันที อาจตายยกบ่อบำบัดได้ตลอดเวลา

- น้ำเสียต้องไม่เป็นกรดหรือด่างมากจนเกินไป ค่า pH ต้องอยู่ในช่วง 5 - 9 จึงจะเหมาะสมกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโต

- ทนกับสภาพวิกฤตน้ำเสียมากๆไม่ได้ ( น้ำที่เน่าเสียไม่มีออกซิเจน ) ตายยกบ่อบำบัดได้ตลอดเวลา

- ต้องหมั่นตรวจสอบและเช็คค่าต่างๆที่จำเป็นอยู่เป็นประจำ เพื่อไม่ให้กระทบกับการดำรงชีพของจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ 


 

  จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน

( Anaerobic  Bacteria หรือ Anaerobic  Microorganism ) 

     

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน( Waste Water Treatment Anaerobic Bacteria )เป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ซึ่งรวมถึงของเสียที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสีย จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้จะทำหน้าที่แปรสภาพและสถานะของสสาร( ย่อยสลาย ) ซึ่งที่สุดของปฏิกิริยาการย่อยสลายจะได้ผลลัพธ์เป็น น้ำ พลังงาน และก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์ในขั้นตอนสุดท้ายของปฏิกิริยา( ตามสมการจำลองด้านล่าง ) จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้จะไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพ ขยายตัว และการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ดังนั้น ในน้ำเสียจะมีออกซิเจนหรือไม่มีออกซิเจน ก็ไม่ไม่มีผลกระทบใดๆต่อการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ซึ่งเป็นจุดเด่นๆที่แตกต่างไปจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน แต่ผลลัพธ์ของปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียจะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน ข้อเสียหรือจุดด้อยของจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ก็คือ การดึงมาใช้งานบำบัดน้ำเสียทำได้ยากกว่ากลุ่มที่ใช้ออกซิเจน ดังนั้น จึงต้องมีการรวบรวมจากธรรมชาตินำมาสังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ปริมาณจุลินทรีย์ตรงตามที่ต้องการนำไปใช้ประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสีย

    

ภาพบน( ส่วนล่าง )เป็นปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสีย )โดยจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งผลจากปฏิกิริยาจะได้ผลลัพธ์เช่นเดียวกันกับจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน( ส่วนบน )ตามสมการจำลอง จะเห็นได้ว่าจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้จะใช้เป็นกำลังหลักในการบำบัดน้ำเสียก็ได้ หรือจะใช้เป็นกำลังเสริมและเป็นกำลังสนับสนุนทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนก็ได้ ในยามที่น้ำเสียมีปริมาณออกซิเจนน้อยหรือน้ำเสียนั้นๆไม่มีออกซิเจนเลย จุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนนี้จะทำหน้าที่บำบัดน้ำเสียได้ตามปกติไม่มีผลกระทบใดๆ นี่คือ จุดเด่นๆของจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้

จุดอ่อนหรือจุดด้อยของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน

- ดึงจากธรรมชาติมาใช้งานได้ยาก อยู่แบบกระจัดกระจายไม่เป็นกลุ่มก้อน ต้องสังเคราะห์ขึ้นเท่านั้นจึงจะนำมาใช้งานได้เต็มที่

จุดเด่นๆของจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน

- ทนแรงต้านทานต่อสภาวะวิกฤตของน้ำเสียได้ดี

- ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย( บำบัดน้ำเสีย )

- ทำปฏิกิริยาได้ดีในสภาวะออกซิเจนน้อยหรือไม่มีออกซิเจนเลย

จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้จึงเหมาะกับการนำไปบำบัดน้ำเสียที่วิกฤตหรือน้ำเสียที่มีปริมาณออกซิเจนน้อย หรือน้ำเสียที่ไม่มีออกซิเจนเลย เป็นกำลังเสริมสนับสนุนการบำบัดน้ำเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน ซึ่งจะช่วยลดภาระหนักในการย่อยสลายของเสียที่มีปริมาณมาก เป็นการบำบัดน้ำเสียแบบคู่ขนานและบำบัดซ้ำ( Double Treatment )การย่อยสลายของเสียก็จะทำได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วไป ช่วยแก้ปัญหาในยามที่กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย อันเนื่องมาจากปัญหาทางเทคนิคของระบบและสิ่งแวดล้อมในบ่อบำบัดที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการดำรงชีพ ขยายตัวและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย หรือในกรณีกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนตายยกบ่อ ก็สามารถนำกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนนี้ไปทดแทนได้ทันที เพื่อให้การบำบัดน้ำเสียดำเนินการต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง

 สรุปจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทั้ง 2 ชนิด( ชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ใช้ออกซิเจนดึงจากธรรมชาติมาใช้งานได้ง่าย จึงเป็นที่นิยมนำมาบำบัดน้ำเสียและใช้ในระบบบำบัดน้ำเสียมากที่สุด ส่วนจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนจะดึงมาใช้งานได้ยาก นอกจากจะสังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการจึงจะนำมาใช้ในปริมาณตามที่ต้องการได้ จุลินทรีย์ทั้งสองชนิดนี้ปฏิกิริยาการย่อยสลาย( บำบัดน้ำเสีย )จะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน


 

     

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า : จุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน

จุลินทรีย์หอมคาซามา( จุลินทรีย์หอม kasama )เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย( บำบัดน้ำเสีย )และยังมีคุณสมบัติในการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น )ได้ดีอีกประการหนึ่ง เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่นำมาจากธรรมชาติรวบรวมและสังเคราะห์ขึ้นจากจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลายสายพันธุ์ นำไปใช้ประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นบำบัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและการดำรงชีพ การเจริญเติบโต และการขยายตัว เราได้ทำการพัฒนาปรับปรุงให้มีกลิ่นหอม เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ในการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น )อีกช่องทางหนึ่ง จึงเป็นจุลินทรีย์หอม 2 in 1 ( บำบัดน้ำเสีย และ ดับกลิ่น )ได้รับประโยชน์ 2 อย่างในเวลาเดียวกัน ได้ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่นดับกลิ่นในบ่อบำบัดน้ำเสียในเวลาเดียวกันทันที จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจัดอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน มีความต้านทานต่อสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตในน้ำเสียได้ดี ทนกับสภาวะ pH ของน้ำเสียตั้งแต่ 2 - 15 ( น้ำเสียที่เป็นกรดอ่อนๆหรือเป็นด่างแก่ก็อยู่ได้ ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะไม่สามารถทนกับสภาพแวดล้อมเช่นนี้ได้    

เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่าโดยตรง( เจ้าของ )จำหน่ายมามากกว่า 10 ปี ให้คำแนะนำและคำปรึกษาฟรีๆสำหรับลูกค้าของเราทุกๆท่าน ทั้งปัญหาทางเทคนิคของระบบบำบัด และปัญหาการบำบัดน้ำเสีย ติดต่อเราที่นี่...

คิดจะใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า


        

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..   

 

       

 จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น

ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ  คลิกดูที่นี่..  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. 

ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูที่นี่...   

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด  คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู  คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ  คลิกดูที่นี่..

การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะ / จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นขยะเหม็น  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น/ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น คลิกดูที่นี่..