จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย ดูระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียมส่วนใหญ่จะเป็นแบบเติมอากาศหรือระบบบำบัดน้ำเสียแบบASซึ่งคอนโดมิเนียมส่วนใหญ่จะใช้ระบบนี้เป็นหลัก
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียมส่วนใหญ่

บ่อเกรอะเป็นแหล่งที่ค่า TKN , BOD สูง เช่น ห้างสรรพสินค้า , โรงแรม , คอนโดมิเนียม , อาคารสำนักงาน , ศูนย์การค้า เป็นต้น เพราะมีของเสียสิ่งปฏิกูลจำนวนมากในแต่ละวัน ซึ่งเป็นที่มาของค่า BOD และค่า TKN ในน้ำเสียสูง

ปัญหาค่าไนโตรเจน ( ค่า TKN )สูงพบทั้งในคอนโดมิเนียมและอาคารสำนักงานที่มีน้ำเสียปริมาณมาก โรงงานอุตสาหกรรมหลายๆแห่ง ที่มีสารอินทรีย์เจือปนในน้ำเสียในปริมาณมาก มักจะติดตามมาด้วยค่า BOD และ TKN สูงมากกว่าปกติทั่วไป 

ในจุลินทรีย์อีเอ็มหรือ EM ที่จำหน่ายทั่วๆไปในท้องตลาด จะไม่มีกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง จะมีก็เฉพาะจุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจน( Nitrofixing Bacteria )เท่านั้น ซึ่งเหมาะกับการบำรุงพืชผักโดยตรง

กำจัดไนโตรเจนหรือลดค่า TKN ในบ่อบำบัดน้ำเสียไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถกำจัดไนโตรเจนได้แล้ว เพราะเราได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งรวมอยู่ในจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเรียบร้อยแล้ว ตัวที่ลดค่า TKN ในน้ำเสียได้ก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งเพียงเท่านั้น

เพิ่ม และ เสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของท่าน ด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ได้รับประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสีย และการดับกลิ่นกำจัดกลิ่นในเวลาเดียวกันทันที

Boost & Reboost ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆครั้งด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ช่วยเพิ่มจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัด เพื่อการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียได้รวดเร็วมากขึ้น ลดค่า BOD,SS,TDS,FOG,TKN ในน้ำเสียบ่อบำบัด

    จุลินทรีย์หรือจุลชีพ( Micro organism )

เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีอยู่ในธรรมชาติ ไม่ใช่สารเคมี

ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียมแบบเติมอากาศ( Activated Sludge : AS )

ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม( ส่วนใหญ่ )ในปัจจุบันที่เป็นคอนโดมิเนียมรุ่นใหม่ๆ จะเป็นแบบจำลองด้านบนนี้แทบทุกๆแห่ง ซึ่งเป็นแบบระบบเติมอากาศลงไปในน้ำเสียที่รับน้ำเสียมาจากคอนโดมิเนียม ระบบนี้ต้องแยกบ่อเกรอะกับบ่อบำบัดรวมออกจากกัน ห้ามนำของเสียและสิ่งปฏิกูลจากชักโครกหรือส้วมมาลงในบ่อบำบัดรวมหรือบ่อบำบัดน้ำเสียส่วนกลาง เช่น บ่อรับน้ำเสียบ่อที่ 1 หรือบ่อที่ 2 ( บ่อเติมอากาศ )เพราะจะทำให้ระบล้มเหลวได้ง่ายๆ

ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่มากกว่า 90% คือ ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศหรือ AS ทั้งนั้น

 ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( Activated Sludge )จะประกอบไปด้วย.-

1. บ่อรับน้ำเสียบ่อแรก( บ่อตกตะกอน )หรือบ่อบำบัดน้ำเสียบ่อที่ 1 ตามภาพด้านบน บ่อนี้จะรองรับน้ำเสียทั้งหมดที่มาจากคอนโด กิจกรรมการอาบน้ำ ล้างมือ ซักผ้าและอื่นๆ ยกเว้นน้ำเสียจากชักโครก( ซึ่งต้องไปลงที่บ่อเกรอะแยกต่างหาก )บ่อนี้จะมีการตกตะกอนสิ่งสกปรกของเสียขนาดใหญ่ การบำบัดด้วยจุลินทรีย์ทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนจะเกิดขึ้นน้อยในบ่อนี้

2. บ่อบำบัดน้ำเสียบ่อที่ 2 จะเป็นบ่อเติมอากาศ ซึ่งรับน้ำเสียมาจากบ่อที่ 1 เพื่อนำน้ำเสียมาบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนไปบ่อพักน้ำทิ้ง การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนจะเกิดขึ้นมากที่สุดที่บ่อนี้ มาตรฐานน้ำทิ้งจะผ่านเกณฑ์หรือไม่ผ่านเกณฑ์ก็อยู่ที่บ่อนี้เป็นหลัก เพราะฉะนั้นต้องออกแบบระบบสิ่งแวดล้อมต่างๆในบ่อนี้ให้ดี เพื่อรองรับจุลินทรีย์ที่จะทำการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย )เครื่องเติมอากาศ( Aerator )ต้องมีกำลังการเติมอากาศอย่างเพียงพอในการเติมอากาศออกซิเจนลงในน้ำเสียในบ่อนี้ เพราะนอกจากออกซิเจนต้องมีมากเพียงพอในน้ำแล้ว อีกส่วนหนึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย( บำบัดน้ำเสีย )ชนิดที่ใช้ออกซิเจน จะดึงออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย( บำบัดน้ำเสีย )จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะขาดออกซิเจนไม่ได้ ออกซิเจนจะเป็นตัวแปรและปัจจัยที่สำคัญของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ปริมาณออกซิเจนมีน้อยในน้ำเสีย ก็มีปัญหาจะส่งผลให้จุลินทรีย์กลุ่มนี้ไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร การขยายตัวน้อยไปตามปริมาณของออกซิเจน ถ้าออกซิเจนในน้ำเสียไม่มีเลย จุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนก็ทำงานบำบัดน้ำเสียไม่ได้ ตายเกลี้ยงบ่อบำบัด ส่งกลิ่นเน่าเหม็นไปทั่วบริเวณได้ ดังนั้น ในบ่อเติมอากาศนี้ ปริมาณออกซิเจนจะต้องเพียงพอ ควรมากกว่าหรือไม่น้อยกว่า 2 mg/l ขึ้นไป( ค่า  DO >= 2 mg/l )การดูแลระบบบำบัดในบ่อเติมอากาศจึงมีความสำคัญมากพอสมควร การเช็คค่า DO เป็นประจำจะทำให้เรารู้ถึงความเป็นไปของระบบบำบัดได้ดีขึ้น ว่าระบบบำบัดมีปัญหาหรือไม่มีปัญหา จะได้ทำการแก้ไขและบริหารจัดการปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ก่อนที่ระบบจะล่มหรือล้มเหลว

3. บ่อบำบัดน้ำเสียบ่อที่ 3 บ่อนี้จะรับน้ำที่ผ่านการบำบัดเรียบร้อยแล้วมาจากบ่อที่ 2 ( บ่อเติมอากาศ )จะรอตกตะกอนอีกครั้งที่บ่อนี้ ตะกอนส่วนใหญ่จะเป็นตะกอนละเอียด เป็นตะกอนส่วนเกิน( Excess Sludge ) ซึ่งตะกอนจะตกลงไปที่ก้นบ่อบำบัด( รอตกตะกอนใช้เวลาไม่น้อยกว่า 24 ชม.) แล้วสูบไปทำลายทิ้งหรือไม่ก็นำไปบำบัดซ้ำในบ่อที่ 2 ก็สามารถทำได้เช่นกัน กรณีที่น้ำเสียมีมากและเกิดการน้ำเสียล้นเร็ว( Overload )น้ำที่ผ่านการบำบัดจากบ่อที่ 2 จะอยู่ในบ่อนี้ไม่นานไม่ถึง 24 ชม. ซึ่งผลส่งผลถึงค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ได้ง่ายๆ การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์จำเป็นต้องใช้ระยะเวลา อาจจะมากกว่า 24 ชม.ขึ้นไป เพราะจุลินทรีย์มีขนาดเล็กย่อยสลายของเสียขนาดใหญ่ไม่ทันในเวลาสั้นๆ ดังนั้น น้ำเสียที่ล้นแต่ละบ่อบำบัดต้องมีระยะเวลาทดให้ล้นช้าลง ไม่ใช่ล้นในแต่ละบ่อน้ำเสียผ่านตลอดในทุกๆบ่อตลอดเวลา ถ้าเป็นเช่นนี้ถือว่าระบบบำบัดล้มเหลวหรือล่มไปแล้ว จุลินทรีย์ทำการย่อยสลายของเสียไม่ทัน เพราะน้ำเสียล้นระบบตลอด และจุลินทรีย์ก็ไหลไปกับน้ำเสียออกจากระบบ เลยย่อยสลายของเสียไม่หมดหรือย่อยสลายได้น้อยมาก จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ โดยเฉพาะน้ำเสียที่ปนเปื้อนสารอินทรีย์ในปริมาณมาก จะทำให้ค่า BOD สูงเกินมาตรฐานได้ นี้คือปัญหาที่พบและเกิดขึ้นในระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศของคอนโดมิเนียมแทบจะทุกแห่ง การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียจำเป็นต้องควบคุมปริมาณน้ำเสียเข้าระบบในแต่ละจุดได้ตามวันและเวลาที่กำหนดไว้ เพื่อไม่ให้ระบบบำบัดล้มเหลวหรือล่มได้ง่ายๆ นี้เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้ที่มีหน้าที่ดูแลและควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม

สิ่งที่พบบ่อยๆของการบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมก็คือ น้ำเสียเกิดการ Overload เพราะออกแบบระบบพอดีกับปริมาณผู้อยู่อาศัยตั้งแต่แรก ในความเป็นจริงต้องออกแบบบ่อบำบัดให้รองรับน้ำเสียส่วนเกินที่จะเพิ่มขึ้นมาในอนาคตไม่น้อยกว่า 10% ขึ้นไป จึงจะไม่เกิดปัญหานี้

 จุดอ่อนของระบบ AS กดดูที่นี่...

 ว่าด้วยบ่อเกรอะ( บ่อส้วม )

บ่อเกรอะหรือบ่อส้วม เป็นบ่อที่รองรับสิ่งปฏิกูลทั้งหมดที่มาจากส้วมหรือชักโครก( อุจจาระและปัสสาวะ )ตามปกติผู้ออกแบบระบบบ่อเกรอะต้องเผื่อปริมาณของเสียที่จะเกิดขึ้นในอนาคตไม่น้อยกว่า 10% ของสิ่งปฏิกูลและน้ำเสียในปัจจุบัน( เผื่อ Overload ในอนาคต )ในบ่อเกรอะหรือบ่อส้วมนี้จะเต็มไปด้วยตะกอน ตะกรันขนาดใหญ่ที่จับตัวกัน ซึ่งไปจากอุจจาระจากส้วมหรือชักโครก ของเสียขนาดใหญ่จะถูกจุลินทรีย์ในระบบย่อยสลายได้ยากและต้องใช้เวลานานมากขึ้นตามขนาดของของเสียนั้นๆ ดังนั้น จึงต้องมีการทำลายของเสียเหล่านี้อยู่บ่อยๆ ซึ่งก็คือการสูบบ่อเกรอะหรือสูบส้วมนั่นเอง ของเสียล้นบ่อเกรอะบ่อย ก็ต้องสูบนำไปทำลายบ่อยตามไปด้วย โดยทั่วๆไปน้ำเสียจากบ่อเกรอะในคอนโดมิเนียมแทบจะทุกแห่งจะต่อตรงไปบำบัดที่บ่อรับน้ำเสียบ่อแรก( ตามภาพจำลองด้านบน )แต่ที่น่าตกใจมากในบางแห่ง น้ำเสียจากบ่อเกรอะต่อตรงเข้ากับบ่อเติมอากาศ ส่งผลให้เกิดการฟุ้งกระจายของกลิ่นเหม็นไปทั่วบริเวณ ซึ่งไม่ควรปฏิบัติเช่นนี้ เพราะจะส่งผลเสียต่อระบบบำบัดได้ง่ายๆ ระบบบำบัดล้มเหลวและล่มได้ง่ายๆ หลักปฏิบัติในการต่อน้ำเสียจากบ่อเกรอะหรือบ่อส้วมเข้ากับระบบบำบัดส่วนกลาง( ส่วนรวม )จะต้องกรองตะกอน ตะกรัน สิ่งปฏิกูลที่มีขนาดใหญ่ชิ้นใหญ่ออกให้หมด โดยอาจใช้ฟิลเตอร์กรองออก ทั้งนี้ เพื่อลดของเสียปริมาณมากเข้าไปในระบบบำบัดส่วนกลาง ซึ่งจะส่งผลให้ค่า BOD สูงบ่อยๆ เพราะของเสียที่มาจากบ่อเกรอะล้วนเป็นสารอินทรีย์ทั้งสิ้น จะทำให้จุลินทรีย์ทำงานหนักมากขึ้น ยิ่งถ้าจุลินทรีย์ในระบบบำบัดมีปริมาณน้อยกว่าของเสีย จะมีปัญหาติดตามมาอย่างแน่นอน ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ ค่า BOD สูงติดตามมา จะต้องตรวจสอบในจุดนี้อยู่เป็นประจำเช่นกัน แต่ถ้าไม่มีการต่อน้ำเสียจากบ่อเกรอะเข้าสู่ระบบบำบัดส่วนรวมก็ไม่เกิดปัญหาดังที่กล่าวมา

การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม( การดูแลและบำรุงรักษา )

( ใช้ได้กับการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียในทุกๆแห่ง ไม่เฉพาะคอนโดมิเนียมเพียงอย่างเดียว )

- ทำรายงานการตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสียอยู่เป็นประจำ( งานประจำ ) โดยตรวจสอบระบบบำบัด บ่อบำบัดแต่ละบ่อ น้ำเสียเข้าออกในแต่ละวัน เกิดการ Overload หรือไม่ ถ้าเกิดการ Overload ต้องทำหรือปฏิบัติอย่างไร? แก้ไขอย่างไร เป็นต้น

- เช็คค่าพารามิเตอร์บางตัว เช่น ค่า BOD , ค่า DO , ค่า pH เป็นต้น สำหรับค่า BOD ให้เช็คในบ่อที่ 3 ( บ่อพักน้ำทิ้ง )ค่า BOD ในบ่อนี้ต้องไม่เกิน 20 mg/l ถ้าเกินกว่านี้ต้องรีบแก้ไขและปรับปรุงระบบต่อไป เครื่องมือเช็คค่า BOD สามารถหาซื้อในท้องตลาดที่ขายเครื่องมือวัดหรืออุปรณ์วัดค่าต่างๆที่เป็นระบบดิจิตัล ซึ่งมีขายอยู่ทั่วๆไปมากมายหลายเจ้า เช่นเดียวกันกับการเช็คค่า pH สามารถเช็คค่าได้ทุกๆบ่อ แต่ที่ขาดไม่ได้จริงๆคือบ่อที่ 2 หรือบ่อเติมอากาศ บ่อนี้ค่า pH จำเป็นอย่างไร? ต้องบอกว่ามีความจำเป็นมากๆ จุลินทรีย์ที่ใช้บำบัดน้ำเสียอยู่ในบ่อนี้มากที่สุด โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ชนิดที่ใช้ออกซิเจน ถ้าบ่อเติมอากาศมีความเป็นกรดหรือเป็นเบสสูงๆ จะส่งผลต่อจุลินทรีย์กลุ่มนี้ทันที นอกจากจะไม่ขยายตัวและเจริญเติบโตแล้ว จุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนนี้อาจตายยกบ่อบำบัดได้ทุกเมื่อ จุลินทรีย์กลุ่มนี้เจริญเติบโตและขยายตัวได้ดีในช่วงค่า pH 5 - 9  ถ้าค่า pH ต่ำกว่า 5 ระบบบำบัดมีปัญหาทันที และถ้าค่า pH สูงกว่า 9 ระบบบำบัดก็มีปัญหาทันทีเช่นกัน นี้คือความสำคัญของค่า pH ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเช็คค่าต่างๆที่กล่าวมาอยู่เป็นประจำ ถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นกับระบบบำบัดจะได้แก้ไขปัญหาได้ทันเวลานั่นเอง ต่อมาก็คือค่า DO เป็นค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสีย ในบ่อที่ 2 หรือบ่อเติมอากาศ ค่า DO ต้องไม่น้อยกว่า 2 mg/l ขึ้นไป ถ้าค่า DO น้อยกว่า 2 mg/l จะส่งผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดที่ใช้ออกซิเจนทันที ถ้าค่า DO = 0  จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็ตายยกบ่อได้ทุกเมื่อ เพราะขาดอากาศออกซิเจนในการดำรงชีพ นี่คือสิ่งที่ควรรู้สำหรับผู้ที่มีหน้าที่ดูแลและบำรุงรักษาระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง ซึ่งไม่เฉพาะแต่คอนโดมิเนียมเท่านั้น แต่หมายรวมถึงผู้ที่มีหน้าที่ดูแลระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งด้วย

- ส่งตรวจค่าน้ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ( ส่งแลปและรายงานผลตรวจ )

- ทำการ Reboot ระบบบำบัดอย่างน้อยปีละ  1  ครั้ง

- สูบบ่อเกรอะปีละ 2  ครั้ง (  6  เดือน/ครั้ง )

ความหมายของการบำบัดน้ำเสีย

การบำบัดน้ำเสีย หมายถึง การทำลายสิ่งเจือปนในน้ำเสียหรือการกำจัดสิ่งที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียให้หมดไป หรือให้เหลือน้อยที่สุด ให้ได้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งที่กำหนด และไม่ทำให้เกิดมลพิษมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมสาธารณะ ในการบำบัดน้ำเสียทำได้หลายวิธีด้วยกัน ทั้งทางด้านกายภาพ  ทางเคมีบำบัด และการใช้จุลินทรีย์บำบัด( ทางชีวภาพ ) การบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะใช้วิธีการผสมสนานหลายวิธีเข้าด้วยกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับแหล่งที่มาของน้ำเสีย ว่าเป็นน้ำเสียประเภทใด มีแหล่งที่มาจากที่ใด ต้องใช้วิธีการบำบัดอย่างไร เช่น น้ำเสียจากคอนโดมิเนียม ขั้นตอนการบำบัดอาจแตกต่างน้ำเสียที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม แม้แต่โรงงานอุตสาหกรรมแต่ละแหล่งก็อาจมีการบำบัดที่แตกต่างกันในบางขั้นตอน โดยเฉพาะโรงงานที่ใช้สารเคมีในการผลิต ซึ่งอาจต้องมีขั้นตอนการบำบัดด้วยสารเคมีบางชนิดก็เป็นได้

การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ชีวภาพ

ในที่นี้จะกล่าวถึงการบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการทางชีวภาพ คือการใช้จุลินทรีย์ในธรรมชาติมาบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย )ซึ่งเป็นที่นิยมมากที่สุด บรรดาของเสียต่างๆแทบทุกชนิดในโลกนี้ ล้วนถูกย่อยสลายหรือทำลายโดยจุลินทรีย์แทบทั้งสิ้นในขั้นตอนสุดท้าย ถ้าปราศจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียกลุ่มนี้ บรรดาของเสียต่างๆคงล้นโลกใบนี้ไปนานแล้ว จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย( บำบัดน้ำเสีย )จะมีเพียง 2 กลุ่มเท่านั้น คือ กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียบำบัดน้ำเสียชนิดที่ใช้ออกซิเจน และกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียบำบัดน้ำเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน จากปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสียของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ จะได้ผลลัพธ์เหมือนกันตามสมการจำลองด้านล่าง ดังนั้น การบำบัดน้ำเสียไม่ว่าจะใช้วิธีการใดๆก็ตาม ทั้งกระบวนการทางกายภาพบำบัดและการใช้สารเคมีบำบัด แต่ขั้นสุดท้ายของการบำบัดของเสียทุกๆชนิดรวมทั้งสารเคมีทุกชนิดที่ทำให้เป็นกลางแล้ว ก็หนีไม่พ้นต้องใช้จุลินทรีย์บำบัดย่อยสลายของเสียนั้นๆในที่สุด ผลลัพธ์ของการบำบัดย่อยสลายของเสียโดยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์จะเป็นไปตามสมการจำลองด้านล่างนี้

สมการจำลองปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย )ของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสียทั้งสองกลุ่มที่กล่าวมาข้างต้น ที่สุดของการบำบัดน้ำเสีย บรรดาของเสียต่างๆที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียจะถูกแปรเปลี่ยนสภาพโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายจนถึงขั้นตอนสุดท้ายของเสียจะถูกทำลายแปรเปลี่ยนไปเป็น น้ำ + พลังงาน + CO2 ตามสมการจำลองด้านบน ดังนั้น ในการบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพสมบูรณ์แบบครบถ้วน จะได้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งทุกๆค่าเป็นไปตามทางราชการกำหนดไว้ทุกประการ แต่ในความเป็นจริงแล้ว จะมีน้อยมากที่ระบบบำบัดน้ำเสียจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพครบถ้วนในทุกส่วน ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ยังมีปัญหาของระบบบำบัด ทั้งปัญหาทางด้านเทคนิคและปัญหาการบริหารจัดการ การบำรุงรักษาระบบบำบัดในแต่ละเรื่อง

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียโดยทั่วๆไป

สำหรับจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียโดยทั่วๆไปในทุกๆระบบบำบัด จะเป็นจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 กลุ่มในธรรมชาติ คือ

1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียบำบัดน้ำเสีย ชนิดที่ใช้ออกซิเจน จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะขาดออกซิเจนไม่ได้ เพราะจะส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์หรือขยายตัวให้มีจำนวนมากขึ้น ดังนั้น ในน้ำเสียที่จะทำการบำบัดนั้น ต้องมีปริมาณออกซิเจนอย่างเพียงพอ จุลินทรีย์กลุ่มนี้จึงจะสามารถดำรงชีพอยู่ได้ และทำการบำบัดน้ำเสียได้ตามปกติ

2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียบำบัดน้ำเสีย ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะแตกต่างไปจากจุลินทรีย์กลุ่มแรกก็คือ ไม่ใช้ออกซิเจนในน้ำเสียมาทำปฏิกิริยาบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพ ดังนั้น ในน้ำเสียจะมีออกซิเจนหรือไม่มีออกซิเจนเลยก็ตาม จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็สามารถทำงานและดำรงชีพได้ตามปกติ ไม่มีผลกระทบใดๆ

ผลจากปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย( บำบัดน้ำเสีย )ของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้ง 2 กลุ่มนี้จะได้ผลลัพธ์ออกมาเหมือนกัน( ตามสมการจำลองด้านล่าง )

ภาพบนเป็นปฏิกิริยาจากการบำบัดน้ำเสียโดยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียบำบัดน้ำเสีย ชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน ผลลัพธ์จะเป็นไปตามสมการจำลอง

จะเห็นได้ว่าผลลัพธ์ของปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียบำบัดน้ำเสีย จะมีลักษณะเหมือนกันกับกรณีปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบสมบูรณ์( แบบไม่เหลือของเสีย ) ซึ่งได้ผลลัพธ์เหมือนกัน

  ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบสมบูรณ์( ออกซิเจนเพียงพอ ) =>  น้ำ + พลังงาน + CO2

ซึ่งถือว่าเป็นการบำบัดของเสียได้เช่นเดียวกันกับการบำบัดน้ำเสียของเสียของจุลินทรีย์ เป็นความเหมือนในความต่างของปฏิกิริยาทางเคมีทั้งสองปฏิกิริยานี้

ข้อควรระวังในการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์

ในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบและทุกๆแห่ง

ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งและทุกๆระบบบำบัด จะขาดซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย( จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย )ไม่ได้โดยเด็ดขาด เพราะจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นมากที่สุด ที่จะต้องมีและรักษาไว้ในระบบบำบัดน้ำเสีย( บ่อบำบัดน้ำเสีย )กรณีที่มีปริมาณจุลินทรีย์มากพอในระบบจะเป็นเรื่องดีต่อระบบบำบัด ถ้ามีน้อยหรือไม่มีจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบเลย ระบบบำบัดนั้นมีปัญหาแน่นอน ต้องพยายามรักษาจุลินทรีย์ให้อยู่ในระบบให้ได้มากที่สุด ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการออกแบบระบบบำบัด สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม อย่านำปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์เข้าไปในระบบบำบัดโดยไม่จำเป็น หรือสิ่งใดที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของจุลินทรีย์ต้องรีบแก้ไขทันที อีกประการหนึ่งต้องมีระยะเวลาให้จุลินทรีย์ได้มีเวลาย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัด( น้ำอยู่กับที่ภายในบ่อ ) อย่าให้น้ำเสียล้นบ่อและไหลผ่านไปยังบ่ออื่นๆตลอดเวลา เพราะจะทำให้จุลินทรีย์ย่อยสลายไหลไปกับน้ำเสียที่ล้นระบบบำบัด จะส่งผลทำให้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียหายไปจากระบบและบ่อบำบัดได้ง่ายๆ ทำให้บ่อบำบัดไม่มีจุลินทรีย์หรือมีน้อย จะส่งผลกระทบต่อค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ได้ตลอดเวลา จุดนี้พึงระวังให้มากเป็นพิเศษ ต้องหมั่นตรวจสอบระบบและบ่อบำบัดอยู่เป็นประจำ ปํญหาที่กล่าวมานี้พบอยู่บ่อยๆ อย่าให้เกิดน้ำเสียล้นระบบบ่อยๆ แต่ละบ่อบำบัดต้องมีขนาดความจุน้ำเสียต้องมากกว่าปริมาณน้ำเสียอย่างน้อย 10%ขึ้นไป เช่น มีน้ำเสีย 20 ลบม. ขนาดความจุของบ่อต้องไม่น้อยกว่า 30 ลบม.ขึ้นไป ทั้งนี้เพื่อทดเวลาในการย่อยสลายของจุลินทรีย์ ที่ต้องใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายของเสียในจุดเดิมไม่น้อยกว่า 24 ชม. จึงจะส่งต่อน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดเรียบร้อยแล้วไปยังบ่อพักน้ำทิ้งหรือบ่อรับน้ำเสียบ่อต่อๆไป

การแก้ปัญหาการบำบัดน้ำเสียแต่ละแหล่ง และปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาแต่ละแห่ง ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เพราะปัญหาของแต่ละแห่งอาจไม่เหมือนกัน ทั้งการวางระบบบำบัด น้ำเสียที่เกิดขึ้น รวมถึงปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับน้ำเสียและระบบบำบัด เป็นต้น ต้องทำการวิเคราะห์และดูปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ที่สำคัญคือ ต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและความเข้าใจในระบบบำบัดในแต่ละเรื่องเป็นอย่างดี

ถ้าพบปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามที่กล่าวมาข้างต้น ต้องรีบแก้ไขและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่องระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสียทันที อย่าปล่อยทิ้งปัญหาไว้จนยากที่จะแก้ไข ซึ่งจะติดตามมาด้วยระบบล่มและระบบล้มเหลวในที่สุด

   

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า : จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นบำบัดกลิ่น

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและการดำรงชีพ เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่นำมาจากธรรมชาติโดยตรง แล้วทำการสังเคราะห์รวมไว้ในที่เดียวกัน เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ โดยเฉพาะการบำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่นดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ทุกชนิด ช่วยลดค่า BOD , SS , TDS , FOG ในน้ำเสีย

  เราคือผู้ผลิตและจำหน่าย( เจ้าของ )โดยตรง จำหน่ายมากว่า 20 ปีจนถึงปัจจุบัน มีลูกค้ากระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะลูกค้าที่เป็นคอนโดมิเนียมจะมีมากที่สุด ในเขตกรุงเทพฯมากที่สุด และย่านถนนสุขุมวิทมากที่สุด ย่านทองหล่อส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้าของเราแทบทั้งนั้น เราให้คำแนะนำและคำปรึกษาฟรีๆสำหรับลูกค้าคอนโดมิเนียมที่สั่งซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปจากเรา เพื่อใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม ซึ่งส่วนใหญ่จะมีปัญหาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อยไม่เพียงพอกับปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นจริง หรือบางรายก็นำไป Reboot ระบบ เพื่อ Run ระบบใหม่ก็มีจำนวนมาก รู้ลึกและรู้จริงการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ ปรึกษาเราที่นี่ได้ฟรีๆ( เฉพาะลูกค้าที่สั่งซื้อจริงๆเท่านั้น )จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นของเราจะแตกต่างๆจากที่อื่นๆหรือในท้องตลาดทั่วไปอย่างสิ้นเชิง กรรมวิธีการผลิตแตกต่างกัน ประการสำคัญจุลินทรีย์ของเรามีกลิ่นหอมทันทีที่ใช้งาน นำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสีย ได้ประโยชน์ 2 ต่อ คือ การบำบัดน้ำเสีย และการดับกลิ่นบำบัดกลิ่นน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็น ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น โปรดระวังของลอกเลียนแบบของเรา ห้ามผู้ใดคัดลอกหรือลอกเลียนแบบของเรา ทั้งเนื้อหาและสาระต่างๆในเว็บไซต์นี้ ซึ่งได้รับการคุ้มครองทางกฎหมายโดยตรง

     

ซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นจากที่นี่ ท่านจะได้อะไรบ้าง ?

1. คำแนะนำและคำปรึกษาฟรีๆ ไม่มีคิดค่าบริการที่ปรึกษาใดๆทั้งสิ้น ทั้งปัญหาการบำบัดน้ำเสีย และปัญหาในเรื่องของกลิ่นต่างๆ

2. ช่วยท่านแก้ไขปัญหา ทั้งการบำบัดน้ำเสีย ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาทางด้านเทคนิคต่างๆ เช่น ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งแต่ละค่ามีปัญหาไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด

3. ปรึกษาได้อย่างต่อเนื่อง ตราบใดที่ท่านยังมีการสั่งซื้อจุลินทรีย์จากทางร้านฯอย่างต่อเนื่อง ลูกค้าจะได้รับสิทธิ์ในการปรึกษาและขอคำแนะนำฟรีๆ

4. มีที่ปรึกษาฟรีๆโดยไม่ต้องจ้างที่ปรึกษาให้เสียค่าใช้จ่ายซ้ำซ้อนใดๆ

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่าย แกลลอนละ  1,200  บาท

ขนาดบรรจุ  แกลลอนละ 20 ลิตร ( บรรจุจริง 21.50 ลิตร )

จัดส่งฟรีทั่วประเทศ ถึงผู้รับภายใน 2 - 4 วันทำการขนส่ง ขึ้นอยู่กับระยะทางใกล้-ไกล 

                   

การบำบัดน้ำเสียจะครอบคลุมระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบบำบัด ทั้งการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรมทั่วๆไป อาคารสำนักงาน อาคารชุดคอนโดมิเนียม ฯลฯ ลูกค้าที่สั่งซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจากที่นี่ จะได้รับสิทธิ์ในการปรึกษาและให้คำแนะนำฟรีๆตลอดเวลาที่มีการสั่งซื้อ วิเคราะห์และแนะนำวิธีการแก้ไขปัญหาให้แบบ Case By Case ทางโทร.หรือทางไลน์ ( ไม่รับดูหน้างาน )

       

ดูเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูจากลิ้งค์ด้านล่างนี้

 

ปัญหาการบำบัดน้ำเสียในแต่ละแห่ง  คลิกดูที่นี่... 
วิธีลดค่า TKN ในบ่อบำบัดน้ำเสีย/ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
ปัญหาค่า TKN สูงในคอนโดมิเนียมและอาคารสำนักงานทั่วๆไป คลิกดูที่นี่.. 
ปัญหาที่พบมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
ปัญหาค่า BOD สูงในระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูข้อมูลที่นี่...
RUN/BOOT&REBOOT ระบบบำบัดน้ำเสียคืออะไร ? กดดูข้อมูลที่นี่... 
จุดอ่อนของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ( AS ) กดดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..


 

จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น

ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

 
 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นรถขยะ / ดับกลิ่นรถขนขยะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 
ดับกลิ่นบ่อเกรอะ / วิธีดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น คลิกที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ  คลิกดูที่นี่..  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. 

ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นกำจัดกลิ่นทุกๆชนิด  คลิกดูที่นี่...   

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด  คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู  คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ  คลิกดูที่นี่..

การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะ / จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นขยะเหม็น  คลิกดูข้อมูลที่นี่..

ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น/ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น คลิกดูที่นี่..