จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย

ขอบคุณท่านที่กด  Share ด้านบนให้กับเว็บไซต์นี้ 

                         

สิ่งที่ไม่ควรกระทำมากที่สุดในระบบบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบ คือ การปรับค่า pH โดยการใช้กรดหรือด่างที่มีฤทธิ์กัดกร่อนสูง เช่น กรดซัลฟูริค โซดาไฟ เป็นต้น เพราะสารเหล่านี้เป็นอันตรายทำลายจุลินทรีย์ในบ่อบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะในบ่อเติมอากาศ ส่งผลให้ปริมาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียลดลง และจะส่งผลต่อค่ามาตรฐานน้ำทิ้งโดยตรง ต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ในระบบบำบัด กรณีที่เป็นสารเคมีจากไลน์ผลิตและเป็นสารเคมีอันตราย ให้ทำการเจือจาง( Dilute )ด้วยปูนขาวก่อน เพื่อลดความรุนแรงของสารเคมี ก่อนเข้าระบบบำบัด

เราได้สังเคราะห์กลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งรวมอยู่ในจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ลูกค้าได้ประโยชน์เพิ่มขึ้นและมากขึ้นกว่าเดิม แต่ไม่มีการปรับเพิ่มราคาหรือบวกราคาแต่ประการใด คงเป็นราคาปกติตั้งแต่ปี 2544 จนถึงปัจจุบัน จุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งมีคุณสมบัติในการกำจัดไนโตรเจน( ลดค่า TKN )แอมโมเนีย ไนเตรท ไนไตรท์ ซึ่งคุณสมบัตินี้จะไม่มีในจุลินทรีย์กลุ่มอื่น

ต้นกำเนิดของการบำบัดของเสียและบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)

ที่แท้จริงคือ จุลินทรีย์จากธรรมชาติ(ที่มีประโยชน์)

ในการบำบัดกลิ่นหรือการดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆบนโลกใบนี้เกิดขึ้นมาพร้อมกับโลกใบนี้จนถึงปัจจุบัน เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในธรรมชาติที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตา ปฏิกิริยาของการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น ) เป็นปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างจุลินทรีย์ในธรรมชาติกับสารอินทรีย์ จุลินทรีย์ที่จะมาทำหน้าที่บำบัดกลิ่นจะต้องเป็นกลุ่มจุลินทีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการบำบัดกลิ่นเท่านั้นที่มีอยู่ในธรรมชาติ จุลินทรีย์กลุ่มนี้จึงได้ชื่อว่าเป็นจุลินทรีย์รักษาสิ่งแวดล้อม ลดมลพิษและมลภาวะในสิ่งแวดล้อมของโลก ถ้าปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มนี้ โลกจะเต็มไปด้วยมลพิษและมลภาวะทั้งมาจากธรรมชาติสร้างขึ้นมาและมนุษย์สร้างขึ้น ทั้งการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น )และการบำบัดของเสียต่างๆถือว่าเป็นหน้าที่โดยตรงของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์

ที่นี่..เราวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ปัญหาแนะนำให้กับลูกค้าที่ซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปจากเรา ให้ใช้งานจุลินทรีย์ในแต่ละเรื่องอย่างถูกต้อง เช่น การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียใช้อย่างไร ใช้ในจุดใด ใช้ในปริมาณเท่าใด ปรับให้เข้ากับบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่ลูกค้ามีอยู่อย่างไร หรือกรณีการนำจุลินทรีย์ไปใช้ในการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น ) จะใช้อย่างไร ใช้ในจุดไหน ใช้ปริมาณเท่าใด ฯลฯ การใช้จุลินทรีย์อย่างตรงจุดและตรงประเด็น การใช้งานจุลินทรีย์เป็นและใช้ถึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า เราปฏิบัติเช่นนี้

บำบัดน้ำเสียแบบมืออาชีพ ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมเจ้าแรกของประเทศไทย ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสีย)และการบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ในบ่อบำบัดน้ำเสียในเวลาเดียวกันทันที        

              

ตัวจักรหรือตัวแปรที่สำคัญในการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบคือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย(จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย) ซึ่งเป็นตัวจักรที่สำคัญมากที่สุดในกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด ซึ่งต้องใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทั้งสิ้นในการแปรสภาพของสสารกลายไปเป็นพลังงาน น้ำ และก๊าซ

  จุลินทรีย์คืออะไร ?

จุลินทรีย์ (  Micro-organism  ) หรือจุลชีพ หรืออีกชื่อคือแบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กๆไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตาเปล่า เป็นสัตว์เซลล์เดียว มีทั้งประเภทให้ประโยชน์ ให้โทษ และเป็นกลาง(ตามภาพจำลองด้านบน) จุลินทรีย์ในโลกนี้มีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน การดำรงชีพมีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจน   100%ของจุลินทรีย์ทั้งหมดในโลกใบนี้ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มดังต่อไปนี้ .-

1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ให้ประโยชน์ต่อพืชและสัตว์ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจน  กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ รวมกันประมาณ 10 % ( ชนิดใช้ออกซิเจน + ชนิดไม่ใช้ออกซิเจน ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ให้ประโยชน์ต่อพืชและสัตว์ในหลายๆด้าน จุลินทรีย์ที่อยู่ในนมเปรี้ยวก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ มีการนำมาใช้ประโยชน์ทั้งเป็นยาและอาหาร การหมักปุ๋ย ฯลฯ

2.  กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษหรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่สร้างปัญหาก่อเชื้อโรคต่างๆ ต่อพืชและสัตว์ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนเช่นกัน  กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10 % ของจุลินทรีย์โดยรวมทุกๆชนิด อาหารบูดเน่า แผลติดเชื้อ แผลเน่าก็มาจากจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ติดเชื้อแบคทีเรียก็คือจุลินทรีย์กลุ่มนี้นั่นเอง

3.   กลุ่มจุลินทรีย์ที่เป็นกลาง ซึ่งเข้าร่วมงานกับจุลินทรีย์กลุ่มใดก็ได้ใน 2 กลุ่มข้างต้น มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนเช่นกัน  กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศประมาณ 80 % มากที่สุดในบรรดากลุ่มจุลินทรีย์ทั้งหมดในธรรมชาติ ( ตามแบบจำลองด้านบน )       

จุลินทรีย์เกี่ยวข้องกับการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสีย)อย่างไร ?

บรรดาของเสียทั้งหลายทั้งมวลบนโลกใบนี้ ซึ่งรวมทั้งน้ำเสียและของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ( กลุ่มที่มีประโยชน์กลุ่มที่ 1 ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียมีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยา ในน้ำเสียจะมีสิ่งปนเปื้อนและสิ่งสกปรกที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์แร่ธาตุต่างๆเจือปนอยู่ในน้ำเสีย สิ่งสกปรกที่เป็นมลสารทั้งหลายเหล่านี้จะถูกย่อยสลายให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลงเรื่อยๆจนสุดท้ายของวัฎฎจักรการย่อยสลายสสารเหล่านี้จะแปรเปลี่ยนรูปไปเป็น  พลังงาน + น้ำ + CO2  ตามภาพจำลองสมการด้านล่าง เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เพื่อจัดการบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้น จึงต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่มีประโยชน์นี้ ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต่างๆคงล้นโลกไปนานแล้ว ดังนั้น ในการบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่งและทุกๆระบบจะขาดซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้โดยเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนหรือกลุ่มย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนก็ถือว่ามีความสำคัญและมีบทบาทในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี เพียงแต่เราจะเลือกกลุ่มใดมาใช้งาน ต้องดูที่หลักการและเหตุผล จุดอ่อนจุดแข็งของแต่ละชนิด

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ?

ความหมายของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย)คือกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ส่วนจุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆที่ไม่มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียก็ไม่จัดอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  ในโลกใบนี้มีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน  ซึ่งมีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย) มีอยู่แบบกระจัดกระจายทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ  มีอยู่ด้วยกัน 2 กลุ่ม โดยแบ่งกลุ่มตามลักษณะการดำรงชีพ ดังต่อไปนี้ .-

1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic  Bacteria ) ซึ่งก็มีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกันที่มีอยู่ในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ ทั่วๆไป จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ขาดออกซิเจนไม่ได้ จะใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพเจริญเติบโตขยายเซลล์และการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย) สามารถดึงจากธรรมชาติได้ง่าย ถ้ามีการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโต

2. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic  Bacteria ) ซึ่งก็มีหลากหลายสายพันธุ์เช่นกัน มีอยู่ทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ อากาศ แต่อยู่แบบกระจัดกระจายกันไป ไม่ค่อยรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน นอกจากจะมีการนำมารวมกันในภายหลัง(สังเคราะห์ขึ้น) จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจนกลุ่มนี้มีปริมาณน้อยในธรรมชาติ ถ้าต้องการปริมาณที่มากต้องมีการสังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการ เพื่อเลี้ยงเชื้อให้ขยายเซลล์ได้ตามที่ต้องการ จุดแข็งของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็คือ ทนต่อสภาพแวดล้อมที่วิกฤตได้ดี เช่น ออกซิเจนที่ละลายในน้ำเสียไม่มีหรือมีน้อย จะไม่ส่งผลกระทบใดๆต่อจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ เพราะเป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาอยู่แล้ว หรือการทนทานต่อค่า pH ที่ต่ำมากหรือสูงมาก

จุลินทรีย์ที่จะแปรสภาพย่อยสลายของเสียทั้งหลายได้นั้น ต้องเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายเท่านั้น ( ทั้งกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติรวมกันประมาณ 10% จุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่บำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียต่างๆ)ในน้ำเสียที่นิยมนำมาใช้งานในปัจจุบัน ส่วนใหญจะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก เพราะสามารถดึงมาใช้ได้ง่ายๆกว่ากลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน จะเห็นได้ว่าระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ ( ทุกๆระบบ ) ออกแบบเพื่อรองรับการดึงออกซิเจนเข้าไปเติมในระบบบำบัด ( เติมในบ่อบำบัด ) เพื่อต้องการให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักมารวมกลุ่มเจริญเติบโตขยายเซลล์ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆ ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายยิ่งมาก ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียก็เกิดขึ้นมาก กากตะกอนของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะเหลือน้อยลง หรือลดลงตามศักยภาพการย่อยสลายของจุลินทรีย์  แต่ในความเป็นจริงแล้วเราไม่สามารถคอนโทรล หรือควบคุมจำนวนหรือปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนให้ได้ตามที่ต้องการในบ่อบำบัดน้ำเสีย ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในแต่ละช่วงเวลา อาจจะมีปริมาณมากเพียงพอกับการย่อยสลายของเสียหรืออาจมีน้อยกว่าปริมาณของเสีย แต่ส่วนใหญ่ของระบบบำบัดน้ำเสียจะมีปัญหาปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดบ่อยๆ ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ในประเทศไทยจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( Activated  Sludge ) ระบบบำบัดนี้มีจุดอ่อนหลายจุดด้วยกัน ถ้าการบริหารจัดการดูแลและบำรุงรักษาไม่ดีพอระบบอาจจะล้มเหลวได้ง่ายๆ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าหรือหลายๆค่าอาจไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด จะเห็นได้ว่าจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะควบคุมค่อนข้างยาก ( ควบคุมไม่ได้ตามที่ต้องการ ) เพราะเป็นจุลินทรีย์ที่กระจายกระจายอยู่ตามธรรมชาติ ถ้าออกแบบสิ่งแวดล้อมของระบบบำบัดไม่เหมาะสมกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตของมันก็จะมีปัญหา ระบบบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียไม่ทัน ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์เป็นประจำ นี่คือเรื่องราวของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสีย) ทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน ทำหน้าที่ย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย)เหมือนกัน แต่การดำรงชีพและทนกับแรงต้านทางจากสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน มีจุดอ่อนและจุดแข็งที่แตกต่างกัน   

    น้ำเสียมีอยู่แทบทุกหนทุกแห่ง โดยเฉพาะตามอาคาร บ้านเรือน โรงงาน สถานประกอบการทุกๆแห่ง แต่ส่วนใหญ่ขาดการบำบัดให้เป็นน้ำดีหรือมีการบำบัดแต่ระบบบำบัดยังไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร ( ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียไม่สมบูรณ์มีมากที่สุดแทบทุกแห่ง ) จึงส่งผลให้น้ำเสียยังคงมีปัญหาอย่างต่อเนื่อง บรรดาน้ำเสียหรือน้ำเน่าเสีย ของเสียต่างๆบนโลกใบนี้ล้วนต้องพึ่งพาอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายและบำบัดทั้งสิ้น ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ของเสียและน้ำเสียคงล้นโลกไปแล้ว ของเสียบางชนิดใช้เวลาย่อยสลายไม่นาน  แต่ของเสียบางชนิดต้องใช้เวลาย่อยสลายเป็นเวลานาน  กรณีน้ำเสียหรือน้ำที่เน่าเสียจะใช้เวลาในการบำบัดและย่อยสลายไม่นานมาก  ตามปกติของเสียและน้ำเสียโดยทั่วๆไปในธรรมชาติ จะถูกย่อยสลายและบำบัดโดยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ( กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักจะมีจุดอ่อนหรือจุดด้อยตรงที่ต้องใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย(บำบัดของเสียและน้ำเสีย) ถ้าปราศจากซึ่งออกซิเจนแล้ว ไม่ว่าจะอยู่ในน้ำเสียหรือบนบก จุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนก็ไม่สามารถทำงานได้ (ตาย) น้ำเสียและของเสียก็ยังคงไม่ได้รับการบำบัดและย่อยสลาย ซึ่งจะสร้างมลพิษและมลภาวะต่อโลกและสิ่งแวดล้อม  ดังนั้น การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย)จึงมาลงเอยที่กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ซึ่งสามารถทำงานย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย)ได้โดยไม่จำเป็นต้องมีออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆ ไม่ว่าในน้ำหรือบนบกก็สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่อง ประการสำคัญกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนนี้สามารถสังเคราะห์ขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ง่าย  ต้องการปริมาณมากเท่าใดก็สามารถทำได้  ซึ่งจะแตกต่างไปจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ซึ่งสังเคราะห์ขึ้นมาค่อนข้างยากต้องออกแบบระบบและดูแลในเรื่องสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม จึงจะเพิ่มปริมาณได้  จุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้ ( กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) สามารถทำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดี มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายคล้ายๆกัน  

   

ภาพบนเป็นภาพจำลองของปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งจะแปรเปลี่ยนสภาพของเสียที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ไปเป็น  น้ำ  +  พลังงาน  +  CO2 ( ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด ์ ) ของเสียต่างๆในโลกนี้ไม่ล้นโลกก็มาจากฝีมือของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียนี้เอง จุลินทรีย์รักษ์โลกก็คือจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้นี่เอง ช่วยให้ขยะไม่ล้นโลก ช่วยให้น้ำเสียไม่ล้นโลก ช่วยลดมลภาวะและมลพิษในสิ่งแวดล้อม รักษาสิ่งแวดล้อม

     

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ( Waste Water Treatment Bacteria ) จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น จะไปนำจุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆที่ไม่มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียมาใช้งานย่อยสลายก็ไม่ได้ จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียยังแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อยด้วยกันตามลักษณะการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยาดังต่อไปนี้ .-

1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic  Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ขาดออกซิเจนไม่ได้ ต้องใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ รวมถึงใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีอยู่กระจัดกระจายอยู่ทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ เป็นกลุ่มจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่นิยมใช้มากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบบำบัด ระบบบำบัดน้ำเสียแทบจะทุกๆระบบจะใช้งานจุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นหลักในการบำบัดน้ำเสีย ( ย่อยสลายของเสีย ) เพราะสามารถดึงจากธรรมชาติมาใช้งานง่าย เพียงออกแบบระบบต่างๆและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตและการดำรงชีพ จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็จะรวมตัวกันเป็นกลุ่มใหญ่ทำงานย่อยสลายให้ตามที่ต้องการ แต่ก็มีข้อจำกัดและเงื่อนไขหลายอย่างที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ เช่น อุณหภูมิพอเหมาะ  ค่า pH ไม่สูงหรือต่ำจนเกินไป ( เจริญเติบโตได้ดีในช่วงค่า pH 6 -8 ) ถ้าค่า pH ต่ำมากๆหรือสูงมากๆจะทำให้จุลินทรีย์กลุ่มนี้ตายยกบ่อได้ทันที หรือกรณีค่าออกซิเจนที่ละลายในน้ำเสียมีน้อย ( ค่า DO ต่ำ ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะดำรงชีพอยู่ไม่ได้ เพราะขาดออกซิเจนไม่ได้ จุลินทรีย์ตายยกบ่อบำบัดได้ถ้าขาดออกซิเจน บ่อบำบัดจะส่งกลิ่นเน่าเหม็นทันที ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหา ส่วนใหญ่ก็มาจากสาเหตุเหล่านี้ส่วนหนึ่ง

2. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ( Anaerobic  Bacteria ) ซึ่งก็มีหลากหลายสายพันธุ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ จุลินทรีย์กลุ่มนี้ทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียโดยไม่ใช้ออกซิเจนเหมือนกลุ่มแรก ทำปฏิกิริยาย่อยสลายได้ทั้งในสภาวะมีออกซิเจนหรือไม่มีออกซิเจนในน้ำเสีย สามารถทำงานย่อยสลายร่วมกับกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนก็ได้ การดึงมาใช้งานบำบัดน้ำเสียทำได้ค่อนข้างยาก จะไม่เหมือนกลุ่มแรกที่สามารถดึงมาใช้งานได้ง่าย ดังนั้น จึงต้องมีการสังเคราะห์จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจนนี้ขึ้นในห้องปฏิบัติการ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสียดังกล่าว ข้อดีของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็คือ ทนทานหรือต้านทานต่อสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตได้ดีกว่ากลุ่มแรก ดังนั้น จึงสามารถนำมาทดแทนปิดจุดด้อยหรือจุดอ่อนของจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักได้  

 จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียได้อย่างไร ? 

สำหรับการบำบัดน้ำเสียไม่ว่าจะใช้กรรมวิธีใดๆก็ตาม ซึ่งในน้ำเสียจะมีสิ่งเจือปนและปนเปื้อนของเสียอยู่เป็นจำนวนมาก ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ สสารทั้งหลายเหล่านี้จะถูกบำบัดในแต่ละขั้นตอนของการบำบัด การบำบัดขั้นตอนสุดท้ายของเสียต่างๆที่มีขนาดเล็กลงจากการบำบัดมาแล้วในขั้นต้นจะถูกย่อยสลายโดยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนหรือกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนก็ได้ทั้งนั้น การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียของจุลินทรีย์ย่อยสลายถือว่าเป็นกลไกการแปรเปลี่ยนสถานะของสสารขั้นตอนสุดท้าย ให้สสารแปรเปลี่ยนไปเป็น น้ำและก๊าซต่างๆรวมถึงพลังงานตามสมการด้านล่างของปฏิกิริยาการย่อยสลายของจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายนี้

     

ประเภทของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ(ใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายบำบัด)

กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ ( Bio waste Water Treatment ) สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ตามชนิดของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการย่อยสลายของเสียที่เป็นสารอินทรีย์ในน้ำเสีย ได้แก่

1. การบำบัดน้ำเสียแบบใช้อากาศออกซิเจน (Aerobic wastewater treatment) เป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียสำหรับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มนี้ถ้าไม่มีออกซิเจน ( ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ) ก็ไม่สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพในน้ำเสียนั้นๆได้ น้ำก็จะเน่าเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตได้ทางกายภาพจากกลิ่นเน่าเหม็น น้ำเสียมีสีดำ และเช็คค่า BOD ค่า DO โดยภาวะปกติในน้ำที่จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้สามารถดำรงชีพอยู่ได้ ค่า DO ต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 2mg/l ขึ้นไป จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ต้องใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ดังนั้น ปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ( ค่า DO ) ต้องไม่น้อยกว่า 2 mg/l ยิ่งค่า DO เป็นศูนย์ จุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนนี้ก็จะตายยกบ่อบำบัด นี่คือความสำคัญของออกซิเจนที่มีต่อจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักกลุ่มนี้ ในระบบบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะในบ่อเติมอากาศ ควรมีกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายในบ่อนี้ประมาณ  2,000 - 3,000 mg/l จึงจะทำการย่อยสลายของเสียบำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. การบำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้อากาศออกซิเจน (Anaerobic wastewater treatment) เป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียสำหรับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้อากาศออกซิเจนในการดำรงชีพและในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆ ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ( ค่า DO ) ไม่มีความจำเป็นสำหรับจุลินทรีย์กลุ่มนี้ (ไม่มีการดึงออกซิเจนในน้ำเสียไปใช้ ) ดังนั้น ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียมีปริมาณเท่าใดก็ยังคงมีปริมาณไม่ลดลง เป็นจุดเด่นที่แตกต่างกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจนนี้ทำงานย่อยสลายได้ทั้งในสภาวะไร้ออกซิเจนหรือมีออกซิเจนก็ได้ จึงเป็นตัวทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ย่อบสลายที่ใช้ออกซิเจนได้ดีในยามที่มีปัญหาหรือขาดแคลนจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัด แต่จุดอ่อนของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็คือ การดึงมาใช้งานค่อนข้างยาก นอกจากการสังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการจึงจะได้เป็นกลุ่มก้อนจำนวนมากได้ตามที่ต้องการ

   การบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย   

การบำบัดน้ำเสียมีหลายวิธีการด้วยกัน ทั้งวิธีทางกายภาพ เช่น การตกตะกอน การกรอง การนำไปกำจัดทิ้ง  ส่วนการบำบัดน้ำเสียทางเคมีด้วยการใช้สารเคมีบางชนิดมาบำบัด ซึ่งส่วนใหญ่น้ำเสียที่ใช้วิธีการบำบัดทางเคมีนั้นจะปนเปื้อนสารเคมี หรือการตกตะกอนด้วยสารเคมีบางชนิดก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการบำบัดน้ำเสีย ส่วนการบำบัดอีกวิธีหนึ่งก็คือ การบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ คือการใช้จุลินทรีย์(ที่มีประโยชน์ในธรรมชาติ)ย่อยสลายของเสียให้มีโมเลกุลเล็กลงเรื่อยๆจนกระทั่งแปรเปลี่ยนสถานะของสสาร(ของเสียในน้ำเสีย)กลายไปเป็น น้ำ + พลังงาน + ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายในการแปรเปลี่ยนสถานะของสสารที่เป้นของเสีย ไม่ว่าการบำบัดน้ำเสียจะด้วยกรรมวิธีใดๆก็ตาม แต่ขั้นตอนสุดท้ายของการบำบัดน้ำเสีย ต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเท่านั้น ของเสียและน้ำเสียไม่ล้นโลกก็มาจากผลงานของจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์รักษ์โลก(รักษาโลก) มีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและการดำรงชีพขยายเซลล์ ซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศที่เหมาะสม             

  สำหรับการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์จากธรรมชาติ ส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะนิยมใช้งานกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก เพราะสามารถดึงมาจากธรรมชาติใช้งานได้ง่าย ถ้าออกแบบระบบสิ่งแวดล้อมให้มันได้อยู่อาศัยดีพอ แต่ค่อนข้างควบคุมได้ยาก มีความอ่อนไหวง่ายต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะสิ่งแวดล้อมในระบบบำบัด ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่( มากกว่า 90% )ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ (  Activated  Sludge : AS ) ระบบนี้จะเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย( ในบ่อเติมอากาศ ) เพื่อให้น้ำเสียมีปริมาณออกซิเจนมากเพียงพอที่จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนนำไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียและการดำรงชีพขยายเซลล์ต่อไป ถ้าในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนเลย จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็อยู่ไม่ได้( ตายยกบ่อบำบัด ) ดังนั้น จึงต้องมีการบำรุงและรักษามันไว้เป็นอย่างดีเพื่อให้อยู่ในระบบบำบัด( บ่อบำบัด ) ให้มากที่สุด เพื่อจะได้ทำการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ) ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป การมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัด( บ่อบำบัด ) ถ้ามีปริมาณน้อยก็มีปัญหา ถ้าไม่มีเลย ( จุลินทรีย์ย่อยสลายตายยกบ่อบำบัด ) ยิ่งมีปัญหามากเข้าขั้นวิกฤตน้ำเสียต้องรีบแก้ไขโดยด่วน

   ความหมายของการบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพ 

การบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ หมายถึงการบำบัดน้ำเสียที่ได้มาตรฐานน้ำทิ้ง ( น้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ที่กำหนดทุกๆค่า ) หรือการบำบัดน้ำเสียที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทางราชการกำหนด กรณีที่ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าไม่ผ่านเกณฑ์ แต่มีบางค่าผ่านเกณฑ์ก็ไม่ถือว่า การบำบัดน้ำเสียนั้นๆมีประสิทธิภาพ ถือว่ายังไม่มีประสิทธิภาพของการบำบัดน้ำเสีย ต้องนำไปแก้ไขและปรับปรุงใหม่จนกว่าจะมีประสิทธิภาพ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งทุกๆค่าผ่านเกณฑ์กำหนด จึงจะถือว่า การบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพดี

บทบาทของจุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย

    จุลินทรีย์หอมคาซาม่า : จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลากหลายสายพันธุ์จากธรรมชาติ นำมาสังเคราะห์รวมไว้ในที่เดียวกัน มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียได้ดี รวมถึงการบำบัดน้ำเสีย ( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ทั้งการย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติที่เด่นๆอีกคุณสมบัติหนึ่งคือ การบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ได้ดี แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงการนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปใช้ในงานบำบัดน้ำเสีย การทำหน้าที่บำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย ) จะเหมือนกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเหมือนกันและได้ผลลัพธ์เช่นเดียวกัน( ตามสมการจำลองด้านล่าง ) จะแตกต่างกันตรงที่กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะไม่ใช้ออกซิเจนในน้ำเสียในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพ ถึงแม้ในน้ำเสียจะมีออกซิเจนหรือไม่มีออกซิเจนเลยก็ตาม จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำงานย่อยสลายได้ตามปกติ อีกทั้งยังสามารถทนแรงต้านทานสิ่งแวดล้อมที่วิกฤตได้ดี เช่น ในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลย และกรณีที่ค่า pH ในน้ำเสียมีค่าต่ำมากหรือสูงมากในบางครั้ง จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทนกับสภาวะแวดล้อมเช่นนี้ได้ ในขณะที่กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนไม่สามารถทนแรงต้านทานที่วิกฤตเหล่านี้ได้ ( ตายยกบ่อบำบัด ) นี่คือความแตกต่างของจุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน

      

สมการจำลองปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย ด้านบนเป็นปฏิกิริยาของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน ส่วนด้านล่างเป็นปฏิกิริยาของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ซึ่งผลลัพธ์จะเป็นไปตามสมการ

  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถนำไปใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัดและน้ำเสียที่มาจากทุกๆแหล่ง มีวงจรชีวิตเหมือนกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทั่วๆไป จุดเด่นคือ สามารถสังเคราะห์ขึ้นมากหรือน้อยตามความต้องการได้ และเราสามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายมากหรือน้อยเข้าไปในระบบบำบัดได้ทันที ไม่ต้องรอเวลาเหมือนกรณีการเพิ่มปริมาณของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งระบบต้องใช้เวลารันระบบเป็นสัปดาห์จึงจะเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ได้ตามที่ต้องการ ไม่ว่าระบบบำบัดจะมีปัญหาหรือไม่มีปัญหา ทั้งปัญหาทางด้านเทคนิคและสิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียได้ตามปกติ ไม่ส่งผลกระทบใดๆต่อประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัด ซึ่งเป็นจุดที่แตกต่างจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนที่มีจุดอ่อนค่อนข้างมาก ระบบมีปัญหาจุดใดจุดหนึ่งก็จะส่งผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนทันที จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจึงเป็นตัวเติมเต็มและแก้ปัญหาให้กับการบำบัดน้ำเสีย ทดแทนจุลินทรีย์ย่ยสลายในระบบมีน้อยหรือกรณีที่จุลินทรีย์ย่อยสลายตายเกลี้ยงบ่อบำบัด สามารถนำไปทดแทนการบำบัดน้ำเสียได้ทันที 

   ระบบบำบัดน้ำเสียโดยทั่วๆไปมีทั้งหมด 6  ระบบ แต่ระบบบำบัดที่นิยมนำมาใช้มากที่สุดก็คือ ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( Activated  Sludge : AS ) ดังนั้น ต่อไปนี้จะกล่าวถึงระบบบำบัดน้ำเสียชนิดนี้เป็นหลัก ระบบบำบัดแบบเติมอากาศนี้จะมีจุดที่สำคัญอยู่ 3 จุดด้วยกัน คือ มีบ่อรับน้ำเสีย( บ่อแรก ) บ่อเติมอากาศ และ บ่อตกตะกอน ( บ่อน้ำทิ้ง ) ส่วนจะมีการเสริมหรือเพิ่มจำนวนบ่อขึ้นมาอีกในจุดใดจุดหนึ่งก็สามารถทำได้ จุดเด่นๆของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศนี้จะอยู่ที่บ่อเติมอากาศ เหตุเพราะบ่อเติมอากาศจะเกิดปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ) มากที่สุดในกระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ บ่อเติมอากาศหรือบ่อปฏิกิริยาเป็นบ่อที่มีกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักอาศัยอยู่มากที่สุด( เพราะมีการเติมออกซิเจนตลอดเวลา ) จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัยหลัก คือ มีอาหารเพียงพอ และมีออกซิเจนมากเพียงพอต่อการดำรงชีพและดึงไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งในสองสิ่งนี้ก็ไม่ได้อย่างเด็ดขาด ดังนั้น ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศนี้จึงต้องออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสม สร้างสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนอยู่ได้ ออกซิเจนและอาหารต้องเพียงพอ เมื่อใดที่ระบบมีปัญหาขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนนี้ทันที ปริมาณอาจลดลงหรือตายยกบ่อบำบัดได้ทุกเมื่อ ซึ่งจะส่งผลต่อค่ามาตรฐานน้ำทิ้งแต่ละค่าโดยตรง ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ )

บทบาทของจุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับระบบบำบัดน้ำเสีย 

    สำหรับบทบาทของจุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับระบบบำบัดน้ำเสียนั้นจะช่วยทั้งการเพิ่มและการเสริมประสิทธิภาพให้กับระบบบำบัดได้ดีมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาดังต่อไปนี้ .-

1. ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดมีน้อย( จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีน้อย ) อันเนื่องมาจากปัญหาเหล่านี้

     1.1 เครื่องเติมอากาศเสียรอซ่อม จะทำให้ในบ่อบำบัดปริมาณออกซิเจนจะลดลงเรื่อยๆ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน จะทำให้น้ำเน่าเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้น ซึ่งกว่าจะรันระบบเริ่มใหม่หรือบูทระบบใหม่ต้องใช้เวลานาน ในขณะที่ของเสียและน้ำเสียเพิ่มขึ้นตลอดเวลา จนกลายไปเป็นวิกฤตน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นทั่วบ่อบำบัด

     1.2 เครื่องเติมอากาศมีกำลังแรงม้าต่ำหรือกำลังวัตต์ต่ำ ซึ่งจะกระจายออกซิเจนได้น้อย ไม่เพียงพอต่อความต้องการของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน เครื่องเติมอากาศต้องมีกำลังสมดุลกับปริมาณของน้ำเสีย ( ต้องเผื่อ Overload ประมาณ 10% ) ไม่ควรหยุดเดินเครื่องเติมอากาศเป็นเวลานานๆ เพราะจะส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนลดลงได้

     1.3 อาหาร( ของเสีย )ไม่เพียงพอ ทำให้ปริมาณจุลินทรีย์ย่อสลายลดลงได้

      1.4 ออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม ไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตและขยายเซลล์( ขยายตัว )ของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน

2. สิ่งแวดล้อมในน้ำเสีย ( ในบ่อบำบัด ) มีปัญหา เช่น ค่าออกซิเจนละลายในน้ำเสียต่ำ ( ค่า DO ต่ำ ) โดยทั่วไปค่า DO ไม่ควรต่ำกว่า 2 mg/l  หรือกรณีน้ำเสียมีค่า pH ต่ำมาก หรือสูงมาก จะส่งผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนโดยตรง อาจตายเกลี้ยงบ่อบำบัดได้ตลอดเวลา ดังนั้น จึงต้องมีการเช็คค่าเหล่านี้อยู่เป็นประจำ ( ค่า DO , pH ) ถ้าเกิดปัญหาขึ้นต้องรีบแก้ไขทันทีให้ทันเวลาก่อนจุลินทรีย์ย่อยสลายจะตายยกบ่อบำบัด

3. ระบบเกิดการโอเวอร์โหลด ( Overload ) คือ น้ำเสียเข้าระบบมากเกินไปในบางครั้ง ในขณะที่ปริมาณจุลินทรีย์ไม่ได้เพิ่มปริมาณตามน้ำเสียและของเสียที่เกิดขึ้นจริง ทำให้ส่งผลต่อค่ามาตรฐานน้ำทิ้งได้ ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่าน )

4. จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนตายยกบ่อบำบัด ซึ่งสังเกตได้จากกลิ่นเน่าเหม็นที่รุนแรง สิ่งที่จะทำให้จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนนี้ตายยกบ่อได้มีหลายปัจจัย เช่น มีสารเคมีที่เป็นอันตรายหลุดเข้าไปในบ่อบำบัด หรือในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลยเป็นต้น

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาตอบโจทย์และแก้ปัญหาให้ในจุดนี้ ( ปัญหา 1 - 4 ) ไม่ว่าค่า DO ในน้ำเสียจะมีมากหรือมีน้อยหรือไม่มีเลย ค่า pH จะต่ำมากหรือสูงมากก็ไม่มีผลกระทบใดๆต่อการดำรงชีพและการทำงานย่อยสลายของเสีย( บำบัดน้ำเสีย ) ของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ดังนั้น จึงเป็นกำลังเสริมและกำลังสนับสนุนการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบได้เป็นอย่างดีในยามวิกฤตเกิดปัญหาขึ้นตามข้อ 1 - 4 สามารถทดแทนและแก้ไขปัญหาได้ทันที ไม่ต้องรอเวลา RUN และ REBOOT ระบบบำบัดใหม่เป็นสัปดาห์ให้เสียเวลา เพราะน้ำเสียเกิดขึ้นตลอดเวลาต้องแก้ไขปัญหาทันที ถึงแม้ว่าระบบบำบัดเดิมไม่มีปัญหาใดๆ แต่ต้องการเริ่งปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสีย ) ให้เร็วขึ้น ให้การย่อยสลายเกิดได้มากขึ้นกว่าปกติก็สามารถใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปเริงปฏิกิริยาได้ทันที ซึ่งส่งผลดีต่อประสิทธิภาพของระบบบำบัดและการบำบัดน้ำเสียโดยตรง  

ในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่ง จากระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบจะเกี่ยวข้องกับจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งสองกลุ่มนี้เป็นหลัก ถ้าขาดหรือปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ( ในทั้งสองกลุ่มนี้ ) แล้ว น้ำเสียทั้งหมดก็จะไม่ได้รับการบำบัดให้เป็นน้ำดี น้ำเสียและของเสียต่างๆคงล้นโลกใบนี้ไปนานแล้ว นี้คือ กระบวนการต่างๆในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี

   

ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้จุลินทรีย์แบบคร่าวๆ ( ชนิดใช้ออกซิเจนเป็นหลัก )

ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ต่างๆซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้เกิดน้ำเน่าเสีย ทั้งนี้ จุลินทรีย์แต่ละชนิดสามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ได้ต่างกัน เช่น โปรตีน ไขมัน เป็นต้น อย่างไรก็ดี องค์ประกอบสำคัญที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์คือก๊าซ Oxygen (O2โดยกระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์จะได้ CO2 + น้ำ + พลังงาน  การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์และแสงแดดในบ่อ (Lagoon Treatment) แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนตามลำดับของการส่งน้ำ ได้แก่ จากบ่อพักให้ตกตะกอน (Sedimentation Pond) บ่อบำบัด (Oxidation Pond) และสิ้นสุดที่บ่อพักสุดท้าย (Polishing Pond) โดยมีบ่อพักให้ตกตะกอนจำนวน 1 บ่อ บ่อบำบัดจำนวน 3 บ่อ และบ่อพักสุดท้ายจำนวน 1 บ่อ ก่อนที่น้ำที่ได้รับการบำบัดแล้วจะถูกปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ โดยจากการทดลองพบว่า การพักน้ำในบ่อจะใช้เวลาทั้งหมด 7 วัน เพราะหากนานกว่านั้นจะทำให้เกิดภาวะเน่าซ้ำซาก (nutrificationของน้ำจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ของจุลินทรีย์

 น้ำดีและน้ำเสียสามารถแบ่งแยกได้ด้วยการวัดระดับ BOD (Biochemical Oxygen Demand/Biological Oxidation Demand) ซึ่งเป็นปริมาณของ O2 ที่จุลินทรีย์ต้องการนำไปใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ อาทิ สารประกอบ Hydrocarbons (น้ำมันเชื้อเพลิง) แอลกอฮอล์ และน้ำตาล เป็นต้น ดังนั้น น้ำที่มีค่า BOD ต่ำคือ น้ำที่ดี เพราะจุลินทรีย์ต้องการ O2 จำนวนน้อยในการย่อยสลายสารอินทรีย์ สำหรับประเทศไทยกำหนดไว้ว่าค่า BOD จะต้องเท่ากับหรือไม่เกิน 20 mg/l (มิลลิกรัมต่อลิตร)
แต่น้ำเสียส่วนใหญ่ในประเทศยังไม่ได้รับการบำบัดอย่างถูกวิธี ทั้งจากส่วนของโรงงานอุตสาหกรรมและบ้านเรือนทั่วไป

อย่างที่กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า ในการบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบและจากทุกๆแหล่งไม่ว่าจะบำบัดด้วยกรรมวิธีใดๆก็ตาม แต่กระบวนการบำบัดขั้นสุดท้ายจะจบลงด้วยการบำบัดด้วยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเสมอ สสารหรือของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะถูกแปรสภาพไปในที่สุดตามภาพจำลองปฏิกิริยาการย่อยสลายด้านล่าง กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งสองกลุ่ม คือ กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจนล้วนมีอิทธิพลและมีบทบาทในการบำบัดน้ำเสียทั้งสิ้น ซึ่งในระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะนิยมใช้ประโยชน์จากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ในระบบบำบัดจึงต้องมีการเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย เพื่อให้จุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนดึงไปใช้งานในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพ จึงเป้นที่มาของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศหรือระบบ AS  

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม Kasama ) จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียต่างๆและการบำบัดกลิ่น(กำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น) จัดอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ( Anaerobic  Bacteria ) ไม่ว่าในน้ำเสียนั้นๆจะมีหรือไม่มีออกซิเจนก็ตาม จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียได้ตามปกติ ซึ่งจะแตกต่างไปจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic  Bacteria ) ซึ่งจะขาดออกซิเจนไม่ได้โดยเด็ดขาด เหตุผลที่ต้องเติมอากาศลงในบ่อบำบัดน้ำเสียก็เพื่อการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนนี่เอง จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถทำงานย่อยสลายของเสียได้ทั้งในสภาวะไร้ออกซิเจนและมีออกซิเจน และสามารถทำงานแบบร่วมกัน ( ย่อยสลายของเสีย ) กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนได้ดี มีคุณสมบัติพิเศษอีกประการหนึ่ง นั่นก็คือ การบำบัดกลิ่น(กำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น)ไม่พึงประสงค์ทุกๆชนิด โดยเฉพาะกลิ่นที่เกิดจากสารอินทรีย์ทั้งหลาย ( ทั้งพืชและสัตว์ ) ซึ่งคุณสมบัติข้อนี้จะไม่มีในกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน จุลินทรีย์หอมคาซาม่าช่วยทั้งเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียได้มากขึ้นและเร็วขึ้น ส่งผลให้การย่อยสลายของเสียในน้ำเสียมีประสิทธิภาพมากขึ้นตามไปด้วย สามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบในประเทศไทย เสริมจุดด้อยของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศที่มีปัญหาปริมาณจุลินรีย์ย่อยสลายมีน้อย การเติมอากาศได้ไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด เครื่องเติมอากาศเสียหรือไม่มีเครื่องเติมอากาศเลย 

        

   จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คืออะไร ?

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คือ จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์ในด้านการบำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่น ( ดับกลิ่น ) เราได้พัฒนาจุลินทรีย์อีเอ็มเดิมให้มีกลิ่นหอมตามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อตอบโจทย์การบำบัดกลิ่น(กำจัดกลิ่นดับกลิ่น)เน่าเหม็น กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียอีกทางหนึ่ง ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆไม่มีคุณสมบัติในข้อนี้ จึงเป็นจุดเด่นที่เพิ่มขึ้นของจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ซึ่งได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย และการบำบัดกลิ่น(กำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น)ไม่พึงประสงค์ต่างๆที่เกิดขึ้นในบ่อบำบัดน้ำเสีย ซึ่งโดยทั่วๆไปจุลินทรีย์จะไม่มีกลิ่น ไม่มีสี ไม่มีรสชาติใดๆ ทุกอย่างเกิดจากการพัฒนาขึ้นในภายหลังทั้งสิ้น เราได้พัฒนาให้จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียให้มีกลิ่นหอม จึงเป็นที่มาของจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ในนาม จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์ที่มีกลิ่นหอมนั่นเอง 

  ที่มาของจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า )

  จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียคาซาม่า หรือจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย เราได้พัฒนากลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดไม่ใช้ออกซิเจนให้มีกลิ่นหอมเพิ่มขึ้นมาอีกขั้นหนึ่ง ซึ่งตามปกติจุลินทรีย์จะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติใดๆ เพื่อการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์กลุ่มนี้ให้มากขึ้นและตอบโจทย์ได้ดีในเรื่องของการบำบัดกลิ่น(กำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น)ไม่พึงประสงค์ต่างๆ โดยเฉพาะน้ำเสียหรือน้ำเน่าเสียที่วิกฤตหนัก ในน้ำที่เน่าเสียไม่มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลายเลย ( เพราะน้ำที่เน่าเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำ ) จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียคาซาม่าจึงตอบโจทย์ในปัญหานี้ได้ดี เพราะจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ในขณะที่ทำหน้าที่บำบัดกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นน้ำที่เน่าเหม็นในน้ำที่เน่าเสียไปในตัวอีกหน้าที่หนึ่งในเวลาเดียวกัน ซึ่งได้ประโยชน์สองต่อในเวลาเดียวกันคือ ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการบำบัดในเรื่องกลิ่น(ดับกลิ่นกำจัดกลิ่น)น้ำที่เน่าเสีย ตามสมการจำลองการทำงานของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าด้านล่างนี้ 

      

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเพิ่มประสิทธิภาพและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในจุดใด ? 

เนื่องจากจุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียเหมือนกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบออกแบบมาเพื่อต้องการดึงกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าระบบให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียในบ่อบำบัดที่สร้างขึ้นมา ระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ( มากกว่า 90% ) ระบบบำบัดแบบเติมอากาศจะดึงเอาจุลินทรีย์ย่อยสลายในธรรมชาติมาใช้งานย่อยสลายของเสียต่างๆ แต่ไม่สามารถกำหนดหรือควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายให้มีมากเพียงพอกับปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงส่งผลให้ของเสียต่างๆบางส่วนในน้ำเสียนั้นๆถูกย่อยสลายได้ไม่หมด ยังคงมีของเสียส่วนหนึ่งตกค้างในระบบบำบัดและผ่านไปยังบ่อพักน้ำทิ้งเพื่อเตรียมปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์อยู่บ่อยๆและเป็นประจำ จะด้วยข้อจำกัดของระบบบำบัดหรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาเพิ่มประสิทธิภาพกำลังการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( ช่วยเพิ่มการย่อยสลายของเสีย ) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียให้เพิ่มขึ้นหรือมากขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง เป็นการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) ถือว่าเป็นการบำบัดซ้ำหรือการย่อยสลายซ้ำ ( Double  Treatment ) ส่งผลให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้น เป็นปฏิกิริยาบำบัด 2 ชั้น หรือ 2 ขั้นตอนตามภาพจำลองด้านล่าง ซึ่งจะส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์มากหรือน้อยได้ตามความต้องการของผู้ใช้  กรณีที่ของเสียหรือน้ำเสียมีปริมาณมากก็สามารถเติมมากได้ตามความต้องการ เพื่อให้สมดุลกับปริมาณน้ำเสียและของเสียที่เกิดขึ้นจริง การบำบัดน้ำเสียก็จะสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น 

    

ภาพบนเป็นภาพจำลองกระบวนการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสีย)ด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( บ่อที่ 2 ) และ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนบ่อที่ 1 ) จะเห็นได้ว่าปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียจะเกิดขึ้น 2 ครั้งหรือ 2 จุด ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศทั่วๆไป ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในบ่อเติมอากาศเพียงบ่อเดียวเท่านั้น ( นอกจากมีการเสริมบ่อเติมอากาศเพิ่มขึ้น ) ภาพบนการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียจะเกิดขึ้นตั้งแต่บ่อแรก ( เติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าลงในบ่อแรก ) ก่อนที่จะส่งไปย่อยสลายต่ออีกครั้งในบ่อที่ 2 ( บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักรอย่อยสลายของเสียที่เหลือในน้ำเสียที่ส่งมาจากบ่อแรก ส่งผลให้เกิดการย่อยสลายของเสียซ้ำ ( Double  Treatment ) ทำให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียทำได้ดีมากขึ้น ของเสียที่เป็นกากตะกอนส่วนเกินในบ่อสุดท้ายเหลือน้อย ( Excess  Sludge ) นำไปกำจัดทิ้งหรืออาจนำกลับไปบำบัดซ้ำอีกครั้งหรือหลายๆครั้งได้  ซึ่งที่สุดของการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายจะได้ผลผลิตตามสมการจำลองด้านล่าง

         

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าประกอบไปด้วยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลายกลุ่มและหลากหลายสายพันธุ์ การสังเคราะห์จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพมารวมอยู่ในที่เดียวกัน มีจุลินทรีย์รวมอยู่ 5 แฟมิลี่ 10 จีนัส 80 สปีชีส์ เพื่อนำไปใช้งานแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ

1. กลุ่มจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria)
2. กลุ่มจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติก (Lactic acid bacteria)
3. กลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง (Nitriflying bacteria)
4. กลุ่มจุลินทรีย์แอคทิโนมัยซีทส์ (Actenomycetes)
5. กลุ่มจุลินทรีย์ยีสต์ (Yeasts)

  

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม

เราได้สังเคราะห์กลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งลงในจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเรียบร้อยแล้ว ลูกค้าได้ประโยชน์มากขึ้นและเพิ่มขึ้น แต่ไม่มีการเพิ่มราคาจำหน่ายแต่ประการใด
  จุลินทรีย์หอม Two  In  One ( บำบัดน้ำเสีย&บำบัดกลิ่นดับกลิ่น)

ค้นหาเราใน Google.co.th โดยใช้ คีย์เวิร์ด หรือ คำ ดังต่อไปนี้ .-

1. จุลินทรีย์หอม

2. จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย 

3. จุลินทรีย์หอม-kasama

4. จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( สำหรับภาษาไทย )

5. จุลินทรีย์หอมรามอินทรา  ( จุลินทรีย์ของเรามีที่ตั้งอยู่ถนนรามอินทรา )

6. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย

คีย์เวิร์ด 1 - 6  เป็นคีย์เวิร์ดตรงของเราในการเข้าสู่เว็บไซต์ของทางร้าน (Bangkokshow.com )  

 

    

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ที่นี่เราให้คำแนะนำและคำปรึกษาให้กับลูกค้าฟรี ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในการบำบัดน้ำเสีย ต้องมีความรู้และความเข้าใจในระบบบำบัดและการบำบัดน้ำเสียที่ถูกต้อง ปัญหาทางด้านเทคนิคในการบำบัดและระบบบำบัดค่อนข้างสลับซับซ้อนมาก เราให้คำแนะนำลูกค้าทุกๆท่านฟรีๆ ในการแก้ไขปัญหา ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ ซึ่งพบมากที่สุด นี้คือจุดเด่นๆของเราที่นี่ ที่ไม่เหมือนใคร เราให้ความรู้และคำแนะนำที่ถูกต้องให้กับลูกค้า ซึ่งเท่ากับลูกค้าได้รับประโยชน์ 2 อย่างเป็นอย่างน้อยเมื่อซื้อสินค้าจากที่นี่ โปรดระวังของลอกเลียนแบบและแอบอ้างไปจากเรา เราไม่ได้อนุญาตให้ใครลอกเลียนแบบทั้งเนื้อหาและสาระทั้งหมดในเว็บไซต์ ผิดกฎหมายลิขสิทธิ์ มีโทษทั้งทางอาญาและแพ่ง 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  แกลลอนละ  600  บาท

 ขนาดบรรจุ แกลลอนขนาด  10   ลิตร ส่งขั้นต่ำ 6 แกลลอนขึ้นไป  

    จัดส่งทั่วประเทศฟรีๆถึงผู้รับภายใน 2 - 4 วันทำการขนส่ง


            


 จุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งลดค่า TKN ( กำจัดไนโตรเจน ) คลิกดูที่นี่.. 
ปัญหาค่า TKN สูงในคอนโดมิเนียมและอาคารสำนักงานทั่วๆไป คลิกดูที่นี่.. 
การกำจัดไนโตรเจนในบ่อบำบัดน้ำเสีย( ลดค่า TKN ) คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์ลดค่า TKN ( ไนโตรเจน )ในบ่อบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่... 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..