จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย (( วิธีการทำความสะอาดเสื้อผ้าหรือชุดฟอร์มที่ถูกน้ำท่วมเน่าเหม็นด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม ))
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


การทำความสะอาดเสื้อผ้าหรือชุดฟอร์มที่ถูกน้ำท่วมเน่าเหม็น

   

หลายท่านที่ถูกน้ำท่วมบ้านหรือโรงงาน เอาเสื้อผ้าออกมาไม่ได้ถูกน้ำท่วม ทำให้เสื้อผ้ามีกลิ่นเหม็นเกิดขึ้น เนื่องจากน้ำเน่าเสียมีสิ่งปฏิกูลปนเปื้อนจำนวนมาก รวมทั้งเชื้อโรคที่มาพร้อมกับน้ำเน่าเสีย ไม่รู้จะแก้ด้วยวิธีใดนอกจากทำลายทิ้ง ต้องบอกว่าไม่ต้องทิ้ง กลิ่นเน่าเหม็นที่เกิดขึ้นสามารถแก้ไขได้ง่ายๆด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย ง่ายๆและปลอดภัยไร้สารเคมีปนเปื้อน 

  วิธีการจัดการกับกลิ่นเน่าเหม็นเสื้อผ้าที่ถูกน้ำท่วมเป็นเวลานานๆ 

1. เทจุลินทรีย์อีเอ็มแบบน้ำ ( ต้องแบบน้ำและสดใหม่เท่านั้น แบบก้อนหรือแบบผงจะไม่ได้ผล ) ลงในภาชนะซักผ้า อาจจะเป็นกะละมังหรือถังพลาสติกก็ได้ โดยใช้จุลินทรีย์ 1 ส่วนผสมกับน้ำสะอาด 1 ส่วนเท่ากัน แช่ทิ้งไว้ประมาณ 1-2 ชั่วโมง( เพื่อให้จุลินทรีย์เข้าไปย่อยสลายสิ่งปฏิกูลในเสื้อผ้า ) แล้วน้ำเสื้อผ้ามาซักตามขั้นตอนปกติ ในช่วงที่แช่ด้วยจุลินทรีย์ไม่ควรนำผงซักฟอกลง 

2. กรณีที่กลิ่นเน่าเหม็นในเสื้อผ้าวิกฤตมากๆ สามารถทำซ้ำตามข้อ 1 ได้หลายๆรอบ จะทำให้กลิ่นหายไปได้เร็ว รวมทั้งจัดการกับเชื้อโรคที่ติดตามเสื้อผ้า 

สามารถนำจุลินทรีย์อีเอ็มที่ผลิตจากหัวเชื้อโดยตรงไปประยุกต์ใช้ทำความสะอาดของใช้ต่างๆ วัสดุอุปกรณ์ที่ถูกน้ำท่วมขังเป็นเวลานานๆและมีกลิ่นเน่าเหม็นเกิดขึ้น โดยไม่ต้องใช้สารเคมีใดๆ

 

ปริมาณการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มบำบัดน้ำเน่าเสียและดับกลิ่นในแต่ละครั้ง 

   ต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายในปริมาณที่เหมาะสมหรือมากกว่าน้ำเน่าเสียที่เกิดขึ้น จึงจะเอาชนะน้ำที่เน่าเสียได้ ถ้าใช้จุลินทรีย์น้อยจนเกินไป ก็เกิดประโยชน์น้อย การบำบัดกลิ่นเน่าเหม็นอาจไม่ได้ผลหรือได้ผลช้า เหตุเพราะน้ำเน่าเสียมีปริมาณมากและวิกฤตหนัก การใช้จุลินทรีย์อีเอ็มย่อยสลายจึงต้องสอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้นจริง การใช้เพียง 1-2 ลิตร จะใช้ได้กับพื้นที่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ถ้าเป็นพื้นที่บ้านหรือโรงงาน การใช้ปริมาณจุลินทรีย์อีเอ็มต้องแปรผันตามขนาดของพื้นที่และขนาดของน้ำเน่าเสีย ใช้เพียงเล็กๆน้อยๆอาจไม่เกิดประโยชน์ใดๆหรือได้ประโยชน์เพียงเล็กน้อยเท่านั้น เพราะนี่คือความจริงในธรรมชาติ 

หมายเหตุ  :   ไม่ควรใช้จุลินทรีย์ที่เกิดจากการหมักด้วยพืชผัก ควรใช้หัวเชื้อขยายเท่านั้น สามารถใช้ได้ทั้งพรมและที่เป็นผ้าหรือพลาสติกในโรงงานได้ แต่ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมีที่มีผลทำให้จุลินทรีย์ตายได้ สามารถใช้ร่วมกับแชมพูได้

         

ผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์อีเอ็ม( em )สำหรับบำบัดน้ำเสีย ใช้แล้วกลิ่นหอมทันที ไม่มีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว ผลิตจากหัวเชื้อโดยตรง ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทันที เพิ่มประสิทธิภาพระบบบำบัดน้ำเสียให้เกิดการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้มากยิ่งขึ้น เสริมจุดอ่อนของระบบบำบัดเพื่อให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียทำได้มากขึ้น ด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า 

  

   จุลินทรีย์ ( Micro-organism ) คืออะไร?

จุลินทรีย์หรือจุลชีพ เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เป็นสัตว์เซลล์เดียวมีหลากหลายสายพันธุ์บนโลกใบนี้ ในบางครั้งก็เรียกจุลินทรีย์ว่า แบคทีเรีย ซึ่งแบคทีเรีย ก็คือ จุลินทรีย์พบทั่วไปในธรรมชาติทั้งในดิน น้ำ อากาศ แบคทีเรียหรือจุลินทรีย์มีบทบาทสำคัญต่ออาหาร และการผลิตอาหาร ( กลุ่มที่ให้ประโยชน์ ) มีทั้งประเภทใช้อากาศและไม่ใช้อากาศในการดำรงชีพ จุลินทรีย์ในโลกนี้มีอยู่ด้วยกัน 3 กลุ่ม ( แบ่งตามคุณลักษณะ ) ดังต่อไปนี้

1. จุลินทรีย์กลุ่มที่ให้ประโยชน์ ดำรงชีพมีทั้งประเภทใช้อากาศออกซิเจนและไม่ใช้อากาศออกซิเจน จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีประโยชน์ในหลายๆด้าน และมีการนำไปพัฒนาเป็นยารักษาโรคก็มี จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ จุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์จะอยู่กระจัดกระจายทั่วๆไปในธรรมชาติ กลุ่มนี้มีอยู่ประมาณ 10%

2. จุลินทรีย์กลุ่มที่ให้โทษ มีทั้งประเภทใช้อากาศออกซิเจนและไม่ใช้อากาศออกซิเจน คุณสมบัติเด่นๆของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็คือ การทำลายสิ่งต่างๆให้เกิดความเสียหายหรือทำให้เกิดโทษ บางครั้งก็เรียกแบคทีเรีย  ซึ่งแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้อาหารเน่าเสีย (microbial spoilage) และทำให้เกิดโรคต่างๆรวมถึงโรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์  มีอยู่ในธรรมชาติประมาณ 10%

3.  จุลินทรีย์กลุ่มที่เป็นกลาง มีทั้งประเภทใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนเช่นกัน กลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติประมาณ 80% จุลินทรีย์กลุ่มนี้สามารถเข้าร่วมงานกับกลุ่มใดก็ได้ในทั้ง 2 กลุ่มบน

ทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย ? 

บรรดาของเสียทั้งหมดทั้งมวลบนโลกใบนี้ ล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายในการในการย่อยสลายของเสียต่างๆรวมทั้งบำบัดน้ำเสียด้วย ถ้าโลกใบนี้ปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย โลกใบนี้ก็จะเต็มไปด้วยของเสียจนล้นโลกไปนานแล้ว   

จุลินทรีย์เกี่ยวข้องกับการบำบัดน้ำเสียอย่างไร ?

น้ำเสียจะมีสิ่งสกปรกเจือปนทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ทั้งที่เป็นของแข็งและของเหลวแร่ธาตุต่างๆ น้ำเสียเหล่านี้ต้องได้รับการบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม ในการบำบัดให้เป็นน้ำดีได้นั้น ต้องอาศัยจุลินทรีย์มาย่อยสลายเปลี่ยนแปลงและแปรสภาพของเสียที่เป็นมลสารต่างๆในน้ำเสียไปเป็นพลังงานและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในที่สุด บรรดาของเสียทั้งหลายบนโลกใบนี้ซึ่งรวมถึงน้ำเสียด้วย ล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายให้มีโมเลกุลเล็กลงไปเรื่อยๆจนกระทั่งแปรเปลี่ยนสภาพไปเป็นพลังงานและก๊าซในที่สุด นี่คือบทบาทของจุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย ถ้าปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายของเสียนี้แล้ว ของเสียและน้ำเสียคงล้นโลกใบนี้ไปนานแล้ว สิ่งแวดล้อมก็จะเต็มไปด้วยมลพิษและมลภาวะกระจายไปทั่วโลก

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ?

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์ ( กลุ่มที่ 1 ) ในด้านการบำบัดน้ำเสียและการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีทั้งประเภทใช้อากาศออกซิเจนและไม่ใช้อากาศออกซิเจนในการดำรงชีพและในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน มนุษย์จึงนำจุลินทรีย์กลุ่มนี้ที่มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมาใช้งานบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี ถ้าปราศจากจุลินทรีย์กลุ่มนี้แล้ว โลกใบนี้ก็จะเต็มไปด้วยของเสียและน้ำเสียจนล้นโลกไปนานแล้ว  การบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบล้วนต้องอาศัยจุลินทรีย์กลุ่มนี้ทั้งสิ้นเพื่อแปรเปลี่ยนและแปรสภาพของเสียต่างๆในน้ำเสียให้กลายไปเป็นพลังงานและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( ตามสมการด้านล่าง ) ในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีนั้นต้องอาศัยจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายเป็นหลัก 

 

จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์จะเข้าไปทำปฏิกิริยาย่อยสลายและกินของเสียต่างๆที่เป้นสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียกลายสภาพไปเป็น น้ำ + พลังงาน + CO2 ตามสมการด้านบนนี้ เนื่องจากจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียกลุ่มนี้มีอยู่ในธรรมชาติประมาณ 10% เท่านั้น ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเจน + กลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน) และยังอยู่แบบกระจัดกระจายอยู่ทั่วๆไปตามดิน น้ำ และอากาศ การที่จะดึงจุลินทรีย์กลุ่มนี้มาใช้งานในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียให้ได้มากที่สุดจึงต้องออกแบบระบบบำบัดและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ โดยเฉพาะกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ถ้าสิ่งแวดล้อมในระบบบำบัดไม่เหมาะกับการดำรงชีพ จะด้วยสาเหตุจากปัญหาใดๆก็ตาม จุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนก็อาจอยู่ไม่ได้ หรือถ้าอยู่ได้ก็มีปริมาณน้อยมากไม่มีการขยายตัว เพราะสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโต การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมให้จุลินทรีย์เจริญเติบโตได้ดีจะส่งผลดีต่อระบบบำบัดโดยตรง 

จุลินทรีย์กลุ่มใดบ้างที่มีความสำคัญและบทบาทต่อการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดน้ำเสีย ? 

1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดใช้อากาศออกซิเจนเป็นหลัก( Aerobic  Bacteria )   จุลินทรีย์กลุ่มนี้ขาดออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตไม่ได้ การขยายเซลล์ให้ได้เป็นจำนวนมากต้องใช้ออกซิเจนและอาหารเสริม ดังนั้น ถ้าการดูแลจุลินทรีย์กลุ่มนี้ทำได้ไม่ดี จะส่งผลให้ระบบบำบัดมีปัญหาเกิดขึ้นทันที จุลินทรีย์มีน้อยและจุลินทรีย์ตายยกบ่อบำบัดได้ง่ายๆ

2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ชนิดไม่ใช้อากาศออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ( Anaerobic  Bacteria ) ซึ่งมีหลากหลายสายพันธุ์ในธรรมชาติ เราสามารถดึงจุลินทรีย์กลุ่มนี้มาใช้งานย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียด้วยการรวมกลุ่มและสังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการและขยายผลไปเรื่อยๆแบบไม่มีที่สิ้นสุด การเพาะเลี้ยงและการควบคุมการดูแลรักษาทำได้ง่ายกว่ากลุ่มแรก รวมถึงการเพิ่มปริมาณความหนาแน่นก็สามารถกำหนดได้ง่ายกว่ากลุ่มแรก ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ) 

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆทุกๆชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย Anaerobic bacteria ) โดยเฉพาะการบำบัดน้ำเสียที่เป็นมลภาวะและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม น้ำเสียนับวันมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามการพัฒนาของมนุษย์ที่มีกิจกรรมในแต่ละวันมากมาย ซึ่งจะใช้น้ำในการอุปโภคและบริโภครวมถึงการใช้น้ำในกิจการอุตสาหกรรมต่างๆในปริมาณที่มากขึ้น ส่งผลกระทบก่อให้เกิดน้ำเสียจากน้ำที่ผ่านการใช้แล้วในแต่ละวันในปริมาณมากตามไปด้วย น้ำเสียต่างๆที่ผ่านการใช้แล้วกฎหมายสิ่งแวดล้อมจะบังคับให้ทุกๆสถานที่ไม่ว่าที่ใดก็ตามต้องทำการบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สาธารณะสิ่งแวดล้อม เพื่อลดมลภาวะและมลพิษในสิ่งแวดล้อม น้ำเสียไม่มีใครปรารถนาไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ เพราะน้ำเสียจะส่งผลให้พืชและสัตว์ตายได้ง่ายๆ น้ำเสียเกิดขึ้นที่ใดมักจะติดตามมาด้วยการตายของพืชและสัตว์น้ำ

      ค่า BOD > 100 mg/l  น้ำเริ่มเน่าเสีย  และ ค่า  DO < 1  mg/l  น้ำก็เริ่มเน่าเสียเช่นกัน

น้ำเสียมีอยู่แทบทุกหนทุกแห่ง โดยเฉพาะตามอาคาร บ้านเรือน โรงงาน สถานประกอบการทุกๆแห่ง แต่ส่วนใหญ่ขาดการบำบัดให้เป็นน้ำดีหรือมีการบำบัดแต่ระบบบำบัดไม่สมบูรณ์ ( ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียไม่สมบูรณ์มีมากที่สุดแทบทุกแห่ง ) จึงส่งผลให้น้ำเสียยังคงมีปัญหาอย่างต่อเนื่อง บรรดาน้ำเสียหรือน้ำเน่าเสีย ของเสียต่างๆบนโลกใบนี้ล้วนต้องพึ่งพาอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายและบำบัดทั้งสิ้น ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ของเสียและน้ำเสียคงล้นโลกไปแล้ว ของเสียบางชนิดใช้เวลาย่อยสลายไม่นาน  แต่ของเสียบางชนิดต้องใช้เวลาย่อยสลายเป็นเวลานาน  กรณีน้ำเสียหรือน้ำที่เน่าเสียจะใช้เวลาในการบำบัดและย่อยสลายไม่นานมาก  ตามปกติของเสียและน้ำเสียโดยทั่วๆไปจะถูกย่อยสลายและบำบัดโดยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ( กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักจะมีจุดอ่อนหรือจุดด้อยตรงที่ต้องใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและบำบัดของเสียและน้ำเสีย ถ้าปราศจากซึ่งออกซิเจนแล้ว ไม่ว่าจะอยู่ในน้ำเสียหรือบนบก จุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนก็ไม่สามารถทำงานได้ น้ำเสียและของเสียก็ยังคงไม่ได้รับการบำบัดและย่อยสลาย ซึ่งจะสร้างมลพิษและมลภาวะต่อโลกและสิ่งแวดล้อม  ดังนั้น การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียจึงมาลงเอยที่กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่ไม่ต้องใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ( กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มหรืออีเอ็ม ) ซึ่งสามารถทำงานย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียโดยไม่จำเป็นต้องมีออกซิเจน ไม่ว่าในน้ำหรือบนบกก็สามารถทำงานได้ ประการสำคัญกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มสามารถสังเคราะห์ขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ง่าย  ต้องการปริมาณมากเท่าใดก็สามารถทำได้  ซึ่งจะแตกต่างไปจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ซึ่งสังเคราะห์ขึ้นมาค่อนข้างยากใช้งบลงทุนค่อนข้างสูง  จุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้ ( กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) สามารถทำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดี มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายคล้ายๆกัน  ในการรีบูทระบบบำบัดน้ำเสียจึงนิยมนำจุลินทรีย์อีเอ็มมาเป็นตัวตั้งต้นในการเซทระบบให้แอกทีฟมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียได้ทันที

ใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียอย่างไรจึงจะออกมาสมบูรณ์เป็นน้ำดีได้ ? 

น้ำเสียจะมีสิ่งสกปรกที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์เจือปนหรือปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่สารปนเปื้อนจะเป็นสารอินทรีย์และสารเคมีบางส่วนปะปนกันอยู่ ในบางกรณีอาจทำให้น้ำเสียนั้นเกิดการเน่าเหม็นขึ้นถ้าปริมาณสารอินทรีย์มีมาก ส่งผลให้น้ำเสียนั้นๆยิ่งวิกฤติมากขึ้น น้ำเสียและของเสียที่ปะปนในน้ำเสียนั้นต้องถูกย่อยสลายและบำบัดโดยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ และปริมาณจุลินทรีย์ในระบบบำบัดน้ำเสียต้องมีปริมาณมากกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงจะเอาชนะของเสียและน้ำเสียที่เกิดขึ้นได้ ของเสียทุกๆอย่างในโลกนี้ ซึ่งรวมทั้งน้ำเสียด้วย ล้วนต้องอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ยังไม่มีสิ่งใดมาทดแทนการย่อยสลายของเสียต่างๆแทนจุลินทรีย์ได้ในปัจจุบัน น้ำดีหรือน้ำเสียวัดได้จากค่าพารามิเตอร์เช่น ค่า pH , BOD , COD , DO , SS , TTS เป็นต้น ยิ่งค่าออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆมีสูง ( ค่า DO มากกว่า 3 ขึ้นไป ) ยิ่งเป็นการดีและค่าอื่นๆได้มาตรฐานนั่นคือ น้ำดี  ค่าพารามิเตอร์ต่างๆจะแปรผันไปตามปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลาย ถ้าในระบบบำบัดน้ำเสียมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายจำนวนมาก จะส่งผลต่อค่าพารามิเตอร์ต่างๆเข้าใกล้ค่ามาตรฐาน จะเห็นว่า จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและน้ำเสียเป็นตัวจักรสำคัญในระบบบำบัดน้ำเสียที่จะทำให้น้ำเสียเปลี่ยนเป็นน้ำดีได้ นี่คือความสำคัญของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ในระบบบำบัดน้ำเสียอย่าให้ขาดจุลินทรีย์ย่อยสลายและอย่าให้จุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดมีน้อยจนเกินไป เพราะจะเกิดปัญหาหลายอย่างติดตามมาในภายหลัง

 น้ำดีและน้ำเสียสามารถแบ่งแยกได้ด้วยการวัดระดับ BOD (Biochemical Oxygen Demand/Biological Oxidation Demand) ซึ่งเป็นปริมาณของ O2 ที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ อาทิ สารประกอบ Hydrocarbons (น้ำมันเชื้อเพลิง) แอลกอฮอล์ และน้ำตาล เป็นต้น ดังนั้น น้ำที่มีค่า BOD ต่ำคือ น้ำที่ดี เพราะจุลินทรีย์ต้องการ O2 จำนวนน้อยในการย่อยสลายสารอินทรีย์ สำหรับประเทศไทยค่ามาตรฐานน้ำทิ้งกำหนดไว้ว่าค่า BOD จะต้องไม่เกิน 20 mg/l (มิลลิกรัมต่อลิตร) สำหรับค่ามาตรฐานน้ำทิ้งทั่วๆไป

ประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังต่อไปนี้.-

1.  ปริมาณของจุลินทรีย์ที่ใช้ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในระบบมีมากหรือน้อย หรือแทบไม่มีเลย ซึ่งขึ้นอยู่กับการออกแบบระบบ สิ่งแวดล้อมเหมาะสมกับการเจริญเติบโตและขยายตัว ( แบ่งเซลล์ ) ของจุลินทรีย์ได้ดีหรือไม่ เครื่องเติมอากาศมีกำลังวัตต์หรือกำลังแรงม้าเพียงพอหรือไม่ การเติมอากาศเติมได้แบบกระจายทั่วถึงทุกๆจุดทั้งบ่อบำบัดหรือไม่

2.  ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายต้องเหมาะสม ส่วนจะใช้เวลาในการย่อยสลายของเสียต่างๆมากหรือน้อนนั้นยังขึ้นอยู่กับปริมาณของเสียต่างๆที่อยู่ในน้ำเสียนั้นๆเป็นตัวแปร ของแข็งแขวนลอย ( SS ) ของแข็งตะกอนหนักมีมากหรือน้อย ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ สิ่งเหล่านี้ล้วนมีผลต่อการใช้เวลาในการย่อยสลายของจุลินทรีย์ทั้งสิ้น

     

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า  จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย Anaerobic bacteria ) สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้กับทุกๆระบบ  โดยเฉพาะกับระบบที่มีปริมาณจุลินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้ำมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย ( ระบบเติมอากาศทั่วๆไป ) น้ำเน่าเหม็นและน้ำที่เน่าเสียมีที่มาจากปริมาณจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียให้มากขึ้นและปฏิกิริยาการย่อยสลายเกิดเร็วขึ้น ช่วยเสริมจุดอ่อนของระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS ซึ่งเกิดปัญหาบ่อยๆ ในเรื่องของปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียไม่เพียงพอหรือมีปริมาณน้อย ส่งผลให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักมีจำนวนน้อยตามไปด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะช่วยเสริมประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียในจุดนี้ด้วย เพราะจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่ดึงหรือไม่แย่งออกซิเจนจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน จึงไม่ส่งผลกระทบใดๆต่อระบบบำบัดและกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน

  

 

  


         

 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..   

 

        

 จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น

ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ  คลิกดูที่นี่..  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. 

ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูที่นี่...   

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด  คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู  คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ  คลิกดูที่นี่..

การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะ / จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นขยะเหม็น  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น/ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น คลิกดูที่นี่..