จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
ที่นี่..เราวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ปัญหาแนะนำให้กับลูกค้าที่ซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปจากเรา ให้ใช้งานจุลินทรีย์ในแต่ละเรื่องอย่างถูกต้อง เช่น การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียใช้อย่างไร ใช้ในจุดใด ใช้ในปริมาณเท่าใด ปรับให้เข้ากับบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่ลูกค้ามีอยู่อย่างไร หรือกรณีการนำจุลินทรีย์ไปใช้ในการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น ) จะใช้อย่างไร ใช้ในจุดไหน ใช้ปริมาณเท่าใด ฯลฯ การใช้จุลินทรีย์อย่างตรงจุดและตรงประเด็น การใช้งานจุลินทรีย์เป็นและใช้ถึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า เราปฏิบัติเช่นนี้ จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน?
ที่นี่..จำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ใช้แล้วกลิ่นหอมทันที บางกอกโปรดักส์ผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นห้องน้ำเหม็น จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ชนิดมีกลิ่นหอมและเข้มข้นสูง ไม่เก่าเก็บ ย่อยสลายของเสียในน้ำเสียได้ทันที ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ดับกลิ่นส้วมเหม็น ส้วมส่งกลิ่นแรง เห็นผลภายใน 1 ชั่วโมงทันที กลิ่นหอมทันทีที่ใช้งาน ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น ดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆได้ทุกๆชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์
กลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใดบ้าง ? กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำหรือกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจาก 2 จุดหลักๆ ดังนี้ 1. ชักโครก หรือโถส้วม 2. ท่อน้ำทิ้ง ( ฟอร์เดรน ) แต่ละจุดในห้องน้ำ สำหรับจุดรองลงมาก็คือ อ่าล้างมือ โถปัสสาวะ ( ถ้ามี )
ในทุกๆบ้านต้องมีส้วมประจำบ้าน และบ้านใดสะอาดหรือไม่บางท่านวัดกันที่ส้วมหรือสุขา ส้วมจึงเป็นเสมือนสัญญลักษณ์แห่งความสกปรกหรือสะอาดก็ได้ ขึ้นอยู่กับการใส่ใจทำความสะอาดของเจ้าของส้วม สิ่งปฏิกูลทั้งหลายทั้งปวงในห้องน้ำห้องส้วมจะลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะ ของเสียต่างๆบางส่วนเกาะติดอยู่ตามท่อที่ต่อไปลงบ่อเกรอะ ( ท่อพีวีซี ) เวลาที่กดชักโครกกลิ่นจากบ่อเกรอะและจากท่อจะตีกลับขึ้นสู่ที่สูงมาออกที่ชักโครก กรณีที่มีการต่อท่อน้ำทิ้งลงบ่อเกรอะร่วมด้วย กลิ่นก็จะมาออกทางท่อน้ำทิ้งอีกทางหนึ่ง ห้องน้ำบางแห่งน้ำทิ้งในห้องน้ำทุกๆจุดจะต่อลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะทั้งหมด ( อ่างล้างมือ , ท่อน้ำทิ้งทุกๆจุด , โถปัสสาวะ ) ลักษณะเช่นนี้อาจเกิดปัญหากลิ่นติดตามมาค่อนข้างสูง ก็คือกลิ่นที่มาจากบ่อเกรอะนั่นเอง ( ตามภาพจำลองด้านบน ) ในแต่ละวันส้วมจะเป็นจุดรับของเสีย ซึ่งมีทั้งอุจจาระและปัสสาวะเป็นส่วนใหญ่ และบ้านบางหลังยังรวมเอาน้ำทิ้งจากการใช้น้ำชำระร่างกายและอื่นๆรวมเข้าไปในส้วมด้วย เมื่อของเสียและสิ่งสกปรกรวมตัวกันก็เกิดการเน่าเสียเกิดขึ้น ซึ่งการเน่าเสียนี้เกิดจากปฏิกิริยาของแบคทีเรียเข้าไปย่อยสลายของเสียเหล่านั้น และเป็นการย่อยสลายที่ไม่สมบูรณ์แบบ จึงก่อให้เกิดของเสียและสิ่งกลิ่นเน่าเหม็นเกิดขึ้นตามมา ซึ่งถือเป็นมลภาวะอีกประเภทหนึ่ง จึงทำให้เกิด ส้วมมีกลิ่นหรือส้วมส่งกลิ่นติดตามมา โดยเฉพาะถ้าปริมาณของเสียมีทุกวันและจำนวนมากดั่งเช่นส้วมสาธารณะตามแหล่งต่างๆหรือตามหน่วยงานที่มีคนจำนวนมากมักจะพบบ่อยๆ ซึ่งส่วนมากจะใช้สารเคมีกำจัดกลิ่น ซึ่งก็ได้ผลเพียงชั่วคราวเท่านั้น และเป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุทำให้สารเคมีที่ใช้ในการกำจัดส้วมมีกลิ่นนั้นเกิดการตกค้างในระบบนิเวศน์และออกสู่สิ่งแวดล้อมเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำได้
การแก้ปัญหาท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) นอกจากใช้บำบัดน้ำเสียได้ดีแล้ว ยังมีคุณสมบัติที่เด่นๆในเรื่องของการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ โดยเฉพาะกลิ่นที่มีสาเหตุมาจากสารอินทรีย์ทั้งหลาย ในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและกำจัดกลิ่น ในบ่อเกรอะมีสารอินทรีย์จำนวนมาก ทั้งกากและตะกอนหนักเบา ตะกรัน ฯลฯ หมักหมมรวมกันทำให้เกิดกลิ่นเน่าเหม็นขึ้น การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะให้ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าแบบเพียวๆไม่ผสมน้ำเทลงไปในจุดแต่ละจุดดังต่อไปนี้.- 1. ชักโครก ประมาณ 2-3 ลิตร หรือมากกว่านี้ก็ได้ตามความต้องการของผู้ใช้ 2. ท่อน้ำทิ้งแต่ละจุด ใช้ประมาณ 1- 2 ลิตร หรือมากกว่านี้ตามความต้องการ 3. อ่างล้างมือ ประมาณ 1 - 2 ลิตร 4. โถปัสสาวะ ( ถ้ามี ) ประมาณ 1 - 2 ลิตร และส่วนหนึ่งผสมกับน้ำสะอาดครึ่งต่อครึ่ง ทำความสะอาดพื้นห้องน้ำ โถปัสสาวะ ท่อน้ำทิ้ง และตามจุดต่างๆในห้องน้ำ กรณีทำได้ทุกวันยิ่งเป็นการดี จะช่วยในการบำบัดกลิ่นและดับกลิ่นได้เป็นอย่างดี กรณีที่กลิ่นลอยอยู่ในอากาศภายในห้องส้วม อาจใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าผสมกับน้ำสะอาดแบบเจือจาง เทลงในขวดสเปรย์ แล้วให้สเปรย์ทั่วๆภายในและรอบๆห้องส้วม จะทำให้ห้องน้ำมีกลิ่นหอมทันที การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในห้องน้ำจะได้รับประโยชน์อย่างน้อยสองต่อคือ การกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม จุลินทรีย์ที่ใช้ในห้องน้ำไหลลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะจะทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะ ( บำบัดน้ำเสีย ) ทำให้บ่อเกรอะลดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ดี ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในห้องน้ำเป็นประจำส้วมจะไม่เต็มง่ายหรือของเสียไม่ล้นบ่อเกรอะ ลดมลภาวะและมลพิษในบ่อเกรอะโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นการบำบัดด้วยวิธีชีวภาพแบบธรรมชาติส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม ข้อแนะนำพิเศษ โดยทั่วไปในบ่อเกรอะจะมีจุลินทรีย์ย่อยสลาย ( ที่ใช้ออกซิเจน ) อยู่ส่วนหนึ่งจำนวนไม่มาก เพื่อย่อยสลายสิ่งปฏิกูลทั้งหลายในบ่อเกรอะ ดังนั้นจึงไม่ควรใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายหรือทำลายจุลินทรีย์เทลงในท่อน้ำทิ้ง( ฟอร์เดรน )หรือชักโครก เช่น โซดาไฟ กรดซัลฟูริก กรดไนตริก เป็นต้น หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะ เพราะจะทำให้จุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่ย่อยสลายสิ่งปฏิกูลในบ่อเกรอะถูกทำลายตายยกบ่อได้ ซึ่งจะส่งผลให้สิ่งปฏิกูลต่างๆในบ่อเกรอะไม่ถูกย่อยสลาย ส้วมเต็มง่ายและส่งกลิ่นเหม็นฟุ้งกระจายไปทั่วบริเวณ เกิดมลพิษและมลภาวะในสิ่งแวดล้อมรอบๆบริเวณอาคารบ้านเรือน เกิดอะไรขึ้นกับห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นรบกวนห้องส้วมที่มีปัญหาส่งกลิ่นเหม็น ส้วมหรือห้องน้ำที่ต่อท่อน้ำทิ้ง ( ฟอร์เดรน )เข้ากับบ่อเกรอะ ( บ่อเกรอะรับของเสียจากชักโครก ) อาจมีปัญหาก๊าซไข่เน่าจากบ่อเกรอะลอยขึ้นมาตามท่อน้ำทิ้งเมื่อกดชักโครก ซึ่งจะสิ่งผลก่อให้เกิดกลิ่นก๊าซไข่เน่า กลิ่นไม่พึงประสงค์อื่นๆติดตามมาได้ โดยเฉพาะฤดูฝนสำหรับบ่อเกรอะที่เป็นบ่อดินหรือบ่อปูน เมื่อฝนตกจะทำให้ก๊าซเกิดการลอยตัวสู่ที่สูง ถ้ามีการต่อท่อน้ำทิ้งลงที่บ่อเกรอะ จะทำให้เกิดกลิ่นหรือก๊าซลอยตัวขึ้นมาตามท่อที่ต่อเชื่อมได้ หรือกรณีที่มีของเสียเกาะสะสมอยู่ในท่อน้ำทิ้งจำนวนมาก ซึ่งท่อน้ำทิ้งส่วนใหญ่จะเป็นท่อพีวีซี ของเสียต่างๆที่เกิดจากกิจกรรมในห้องน้ำ ทั้งสบู่ ทั้งแชมพูและอื่นๆจะไหลผ่านท่อน้ำทิ้ง และจะมีบางส่วนเกาะติดอยู่ตามแนวท่อน้ำทิ้ง เมื่อสะสมเป็นเวลานานๆเข้า จะทำให้เกิดกลิ่นขึ้น ดังนั้นกลิ่นจากห้องน้ำหรือห้องส้วมจึงมาจากจุดเหล่านี้ ( นอกจากกลิ่นจากบ่อเกรอะ ) การแก้ไขปัญหาไม่ต้องไปทุบส้วมหรือท่อน้ำทิ้ง ง่ายๆด้วยการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าทำความสะอาดตามคำแนะนำเป็นประจำก็จะไม่เกิดปัญหาห้องน้ำเหม็น ส้วมเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น ปัญหาเหล่านี้ก็จะหมดไป
บ่อเกรอะ หรือ บ่อส้วม เป็นแหล่งรวมสิ่งปฏิกูลทุกๆอย่างที่มาจากส้วม ชักโครก คอห่าน จะลงไปรวมกันทั้งหมดที่บ่อเกรอะ ทุกๆครัวเรือน ทุกๆอาคารต้องมีบ่อเกรอะ หรือที่ใดมีส้วม ที่นั่นต้องมีบ่อเกรอะ ซึ่งบ่อเกรอะแต่ละแห่งอาจเป็นบ่อปูนหรือถังแซทก็ได้ บ่อเกรอะจะเป็นแหล่งที่อับอากาศออกซิเจน เต็มไปด้วยก๊าซต่างๆที่เกิดจากปฏิกิริยาสิ่งปฏิกูลที่ไปจากส้วม กากตะกอน ตะกรัน ที่ย่อยสลายไม่หมดตกค้างอยู่ในบ่อเกรอะ จุดด้อยของบ่อเกรอะก็คือ อับอากาศออกซิเจนหรือมีออกซิเจนปริมาณน้อยมาก ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียในบ่อเกรอะแทบเป็นศูนย์ ทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักเจริญเติบโตไม่ได้ ทำให้ไม่เกิดการย่อยสลายของเสียต่างๆที่ลงไปที่บ่อเกรอะ กากตะกอนและตะกรันจำนวนมากจึงไม่ถูกย่อยสลาย จำเป็นต้องสูบไปกำจัดทิ้ง ถ้ามีจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียเพียงพอกับปริมาณของเสียในบ่อเกรอะ จะทำให้บ่อเกรอะไม่ส่งกลิ่นเหม็นและบ่อเกรอะก็ไม่เต็มง่าย แต่ถ้าเมื่อใดบ่อเกรอะมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายมีน้อยหรือแทบไม่มีเลย ก็จะเกิดปัญหาขึ้นทันที ทั้งกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ ฟุ้งกระจายทั่วบริเวณหรือเข้าไปในห้องนอนและส่วนอื่นๆของบ้านเรือน รวมถึงทำให้ส้วมเต็มง่าย ( บ่อเกรอะเต็มง่าย ) ล้วนเป็นผลมาจากการขาดจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะ ปัญหากลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะมาจากอะไร ? เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า บ่อเกรอะเป็นแหล่งรวมสิ่งปฏิกูลทั้งหมดที่รับมาจากชักโครกหรือส้วม ทั้งกากตะกอนหนัก ตะกอนเบา ตะกรัน ฯลฯ จะลงมารวมกันที่บ่อเกรอะ ของเสียสิ่งปฏิกูลต่างๆทั้งหมดส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ที่ไปจากมนุษย์โดยตรงในบ่อเกรอะนี้จะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายที่มีอยู่ในธรรมชาติ ( ทั้งประเภทใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ) แต่สภาพแวดล้อมในบ่อเกรอะไม่ส่งเสริมให้จุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายเจิรญเติบโตได้ดี เป็นจุดอับอากาศในน้ำเสียในบ่อเกรอะแทบไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นเลย ส่งผลให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักไม่สามารถทำงานย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะได้อย่างเต็มที่ จึงส่งผลให้เกิดการเน่าเหม็นจากของเสียที่หมักหมมอยู่ในน้ำเสียในบ่อเกรอะ การแก้ไขปัญหานี้คือ การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในบ่อเกรอะให้เพียงพอต่อปริมาณของเสีย เพื่อเร่งปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียให้เกิดขึ้นมากที่สุด ( เพื่อจะได้ลดกลิ่นลง ) แต่กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักไม่มีคุณสมบัติในการกำจัดกลิ่นเหม็นหรือดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ ต้องอาศัยจุลินทรีย์กำจัดกลิ่นอีกกลุ่มหนึ่ง บ่อเกรอะคืออะไร ? ทำไมต้องมีบ่อเกรอะทุกๆอาคารและทุกๆบ้านเรือน ? บ่อเกรอะ คือ บ่อที่รับของเสียจากส้วมหรือชักโครกจากการปล่อยเบาและปล่อยหนักปลดทุกข์จะลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะทั้งหมด ทำไมต้องมีบ่อเกรอะ? ถ้าไม่มีการทำบ่อเกรอะแล้ว ของเสียต่างๆที่ไปจากส้วมและชักโครกจะนำไปทิ้งลงที่ไหน? นี่คือที่มาของบ่อเกรอะที่ต้องมีในทุกๆอาคารบ้านเรือนนั่นเอง ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะไปไหนต่อ? ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลาย ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติอยู่แล้ว เพียงแต่มีปริมาณน้อย ( เมื่อเปรียบเทียบกับของเสีย ) โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ในบ่อเกรอะน้ำเสียค่อยข้างวิกฤตหนัก ของเสียที่หมักหมมมีเป็นจำนวนมาก ในขณะที่ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในบ่อเกรอะ ( น้ำเสียในบ่อเกรอะ ) มีปริมาณน้อยมาก ดังนั้น จึงส่งผลให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำงานย่อยสลายไม่ได้ เพราะขาดออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายนั่นเอง บ่อเกรอะเป็นแหล่งที่อับอากาศหรือแทบไม่มีอากาศออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเลยนั่นเอง บ่อเกรอะมีทั้งก๊าซไข่เน่า ก๊าซมีเทน ก๊าซเหล่านี้จะลอยขึ้นสู่ที่สูง เป็นที่มาของกลิ่นส่วนหนึ่ง ทุกครั้งที่มีการกดชักโครก ก๊าซต่างๆจะลอยขึ้นมาตามท่อที่ต่อเชื่อมเข้ากับบ่อเกรอะ ซึ่งรวมทั้งกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในบ่อเกรอะ ดังนั้น จึงควรสูบบ่อเกรอะอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เพื่อนำตะกรันในบ่อเกรอะออกให้หมด แล้วค่อยเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปแทนที่ ในบ่อเกรอะเป็นที่อับอากาศออกซิเจน กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำงานไม่ได้ ( Aerobic bacteria ) และไม่สามารถเติมอากาศลงในบ่อเกรอะด้วยเครื่องเติมอากาศได้ ดังนั้น การแก้ปัญหาจึงนิยมเติมกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Anaerobic bacteria )ในบ่อเกรอะ เพราะบ่อเกรอะมีจุดอ่อนหรือจุดด้อยตรงที่กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักเข้าถึงไม่ได้ เพราะในบ่อเกรอะไม่ค่อยจะมีอากาศให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนดึงมาใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพ นี่คือ จุดเสียของบ่อเกรอะทุกๆแห่ง ดังนั้น จึงต้องหมั่นสูบบ่อเกรอะบ่อยๆ และเติมจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้อากาศอยู่เรื่อยๆ ก็จะแก้ปัญหาบ่อเกรอะเหม็นและเต็มง่าย ทำไมในบ่อเกรอะจึงส่งกลิ่นเหม็น ? ถ้าตอบแบบง่ายๆก็คือ ในบ่อเกรอะนั้นมีจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นมีปริมาณน้อยหรือแทบไม่มีเลย จุลินทรีย์ย่อยสลายและกำจัดกลิ่นที่มีอยู่ในบ่อเกรอะไม่เพียงพอหรือมีปริมาณน้อยมาก นั่นคือ ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะมีมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายที่มีอยู่ในบ่อเกรอะ ของเสียที่หมักหมมอยู่ในบ่อเกรอะส่งผลให้ทั้งการเกิดน้ำเสียมากขึ้นและเกิดปัญหากลิ่นมากขึ้น การแก้ไขปัญหานี้ที่ตรงจุดมากที่สุดก็คือ การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในบ่อเกรอะหรือการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในบ่อเกรอะให้มากพอกับปริมาณของเสียนั่นเอง จึงจะแก้ปัญหาบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นได้และต้องหมั่นเติมอยู่เรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง ตราบใดที่ของเสียยังเกิดขึ้นตลอดเวลาและต่อเนื่องก็ต้องอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายอย่างต่อเนื่องเช่นกัน อาคารบ้านเรือนส่วนใหญ่มักจะต่อท่อน้ำทิ้งจากห้องน้ำ อ่างล้างหน้า อ่างล้างมือ ฟอร์เดรน ลงไปรวมที่บ่อเกรอะจึงทำให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็นในห้องน้ำขึ้นบ่อยๆ ที่ถูกต้องจะต้องแยกบ่อน้ำทิ้งกับบ่อเกรอะเป็นคนละบ่อกันจึงจะทำให้ไม่เกิดปัญหาขึ้น เมื่อกดชักโครกน้ำเสียจากชักโครกก็จะลงไปรวมที่ก้นบ่อส่งผลให้กลิ่นก๊าซต่างๆจากก้นบ่อเกรอะลอยตัวขึ้นมาตามท่อน้ำทิ้งและจุดเชื่อมต่อในแต่ละจุด ควรเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะอยู่เรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดของเสียและกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ ถ้าขาดเสียซึ่งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย และการกำจัดกลิ่น สิ่งที่ติดตามมาก็คือ ของเสียมากขึ้นถูกย่อยสลายน้อยมาก ส่งผลให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็นลอยขึ้นมาจากบ่อเกรอะ นี่คือผลของการขาดจุลินทรีย์ย่อยสลายในบ่อเกรอะ การสูบบ่อเกรอะหรือสูบส้วมบ่อยๆก็ช่วยนำของเสียต่างๆออกจากบ่อเกรอะ โดยเฉพาะตะกรันในบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะจะเป็นตัวชี้วัดว่า บ่อเกรอะนั้นๆมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อยเกินไป ต้องรีบเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ลงไปในบ่อเกรอะทันที เพื่อจัดการในเรื่องกลิ่นและการบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ การดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ต้องไม่ใช่การกลบกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเหมือนกรณีการใช้สารเคมีกลบกลิ่น กลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายบนโลกใบนี้ ส่วนใหญ่มาจากอินทรีย์วัตถุที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ขึ้นมา มีทั้งมาจากธรรมชาติสร้างขึ้นมาและมนุษย์สร้างขึ้น แต่กลิ่นส่วนใหญ่จะมาจากกิจกรรมของมนุษย์สร้างขึ้น ถ้ากลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นๆมีที่มาจากสารอินทรีย์ก็กำจัดด้วยจุลินทรีย์บำบัดกลิ่น แต่ถ้ากลิ่นนั้นมาจากสารเคมีก็ให้ใช้สารเคมีกำจัดกลิ่นนั้นๆ ตามที่มาหรือสาเหตุของกลิ่น กลิ่นที่เกิดขึ้นในบ่อเกรอะมาจากไหน ? น้ำยาดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น : จุลินทรีย์หอมคาซาม่า กลิ่นเหม็นที่มาจากบ่อเกรอะมาจากของเสียต่างๆที่ไปจากชักโครกหรือคอห่านในห้องน้ำห้องส้วม ทั้งถ่ายหนักและถ่ายเบา เมื่อหมักหมมรวมกันนานเข้าก็จะเกิดกลิ่นขึ้นมา ไม่ต้องมองจากที่ไหนแค่ถ่ายหนักก็มีกลิ่นแล้ว ดังนั้น บ่อเกรอะจึงเป็นศูนย์รวมของเสียต่างๆและศูนย์รวมกลิ่นไม่พึงประสงค์ กลิ่นเหม็นที่เกิดขึ้นเกิดจากการหมักหมมของสารอินทรีย์เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น ในการกำจัดกลิ่นเหม็นเหล่านี้ให้ได้ผลดีจึงต้องพึ่งพาอาศัยจุลินทรีย์ในการบำบัดกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์เหล่านี้ การเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์อีเอ็มลงในบ่อเกรอะจะได้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า 3 อย่าง อย่างแรก จุลินทรีย์ที่เราเติมลงไปในบ่อเกรอะจะไปย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะ เพราะปกติบ่อเกรอะมีปริมาณจุลินทรีย์ในธรรมชาติน้อยอยู่แล้ว ( จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ ) อากาศออกซิเจนก็มีน้อยนิดหรือแทบจะไม่มี ส่วนใหญ่มีแต่ก๊าซไข่เน่าและก๊าซมีเทน อย่างที่สอง ช่วยบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ น้ำเสียจะค่อนข้างวิกฤตมาก เพราะในบ่อเกรอะมีค่า DO น้อยมากๆหรือแทบไม่มีเลย ( ค่า DO คือค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำ ) ดังนั้น กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียจึงไม่ทำงาน เพราะไม่มีออกซิเจนใช้ในการทำปฏิกิริยานั่นเอง ปัญหาจึงติดตามมา นั่นคือ บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นอย่างต่อเนื่องและรุนแรง การที่จะเพิ่มจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนทำได้ค่อยข้างยากในบ่อเกรอะ เพราะมีข้อจำกัดหลายประการ อย่างที่สาม ช่วยดับกลิ่นเน่าเหม็นหรือกำจัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ กลิ่นเน่าเหม็นในบ่อเกรอะส่วนใหญ่มาจากการหมักหมมกันของสารอินทรีย์ และไม่มีจุลินทรีย์เข้าไปย่อยสลายของเสียเหล่านั้นหรือมีจุลินทรีย์ในธรรมชาติย่อยสลาย แต่มีปริมาณน้อยกว่าปริมาณของของเสียที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้จึงทำให้เกิดปัญหากลิ่นขึ้นมานั่นเอง
การนำกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มหรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ซึ่งทำหน้าที่ได้เช่นเดียวกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน เพียงแต่กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มจะไม่ใช้ออกซิเจนหรือดึงออกซิเจนในน้ำเสียมาใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย เพราะโดยปกติทั่วไปแล้ว น้ำเสียในบ่อเกรอะก็มีออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นน้อยอยู่แล้วหรือบ่อเกรอะบางแห่งแทบไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียในบ่อเกรอะนั้นเลย จึงส่งผลให้ไม่มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายในบ่อเกรอะหรือมีแต่มีปริมาณน้อยนิด ซึ่งไม่เพียงพอหรือย่อยสลายของเสียไม่ทันกับปริมาณน้ำเสียที่มีมากกว่าในบ่อเกรอะนั้น ดังนั้น ทางออกในการแก้ไขปัญหาจึงหันไปพึ่งพาอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) ซึ่งเราสามารถสังเคราะห์ขึ้นมาได้ง่ายกว่า กำหนดปริมาณได้ง่ายกว่า ในปัจจุบันจึงนิยมนำจุลินทรีย์อีเอ็มมาทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก เพราะจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนนี้ขาดออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายไม่ได้ แต่ความเป็นจริงในปัจจุบัน น้ำเสียมีปริมาณมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์หลายเท่าตัว น้ำเสียรุนแรงมาก ดังนั้นจึงส่งผลให้ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นมีปริมาณน้อยมากหรือแทบไม่มีเลยก็มีให้เห็นบ่อยๆ ซึ่งส่งผลกระทบโดยต่อการเติบโตของจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายในระบบ ออกซิเจนในน้ำเสียในระบบมีน้อยหรือแทบไม่มีเลย จะสัมพันธ์โดยตรงกับปริมาณจุลินทรีย์ให้มีน้อยลงหรือแทบไม่มีเลย ส่งผลให้น้ำเสียนั้นๆเข้าขั้นวิกฤตหนัก โดยเฉพาะน้ำเสียในบ่อเกรอะหรือน้ำเสียจากห้องน้ำห้องส้วมที่มีผู้ใช้จำนวนมากเป็นประจำ การสร้างหรือเพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำได้ค่อนข้างลำบาก ดังนั้น จึงนิยมนำกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียมาทำงานทดแทนกัน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะทำหน้าที่คล้ายๆกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน และสามารถทำงานย่อยสลายร่วมกันได้ในระบบทุกๆระบบบำบัดน้ำเสีย ถ้าในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลย กลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนก็สามารถทำงานได้ทันที ไม่ต้องรอจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนให้เสียเวลาในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ ดังนั้น ในปัจจุบันจึงนิยมนำจุลินทรีย์อีเอ็มมา REBOOT ระบบและ RUN ระบบให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียรวมไปถึงการดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นจุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม ใช้บำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ไม่พึงประสงค์ต่างๆได้ทุกๆชนิดและทุกๆประเภทที่เกิดจากสารอินทรีย์ เป็นธรรมชาติบำบัด 100% ไม่มีสารเคมีเจือปน ช่วยรักษาและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ลดมลภาวะและมลพิษในเรื่องกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ โปรดระวังของลอกเลียนแบบและแอบอ้างจากเรา ซึ่งมีมิจฉาชีพลอกเลียนแบบและก๊อปปี้เนื้อหาสาระต่างๆในเว็บไซต์ของเรา ผิดกฎหมายละเมิดลิขสิทธิ์ทั้งอาญาและแพ่ง มีโทษทั้งจำและปรับ จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ราคา จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นห้องน้ำ ราคา ราคาจำหน่าย แกลลอนละ 1,200 บาท ขนาดบรรจุ แกลลอน 20 ลิตร( บรรจุจริง 21.50 ลิตร ) จัดส่งฟรีทั่วประเทศ ถึงผู้รับภายใน 2-4 วันทำการขนส่ง แอดไลน์ร้านค้า กรุณากดที่เพิ่มเพื่อนด้านบนนี้ แล้วสามารถสั่งซื้อจุลินทรีย์ทางไลน์ได้ทันที จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้ จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ คลิกดูที่นี่.. การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่..
|