จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้บรรจุกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้ง สำหรับลดค่า TKN โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย @@น้ำเสียการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียวิธีการบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพและได้ผลดี
ReadyPlanet.com
bulletใบเสนอราคาจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletห้องน้ำเหม็นตอนฝนตก/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรงช่วงหน้าฝน
bulletวิธีการแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำโชยเข้าห้องนอน
bulletห้องน้ำเหม็นมากๆส้วมเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
bulletวิธีทำความสะอาดห้องน้ำ/ส้วมให้มีกลิ่นหอม
bulletดับกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ/บำบัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ
bulletเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/บำบัดน้ำเสีย
bulletดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น
bulletดับกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะ
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/ กลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletประโยชน์ของการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปในบ่อเกรอะ
bulletจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะ
bulletกลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะแก้อย่างไร?
bulletจำหน่ายอีเอ็มดับกลิ่น/อีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
bulletวิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นส้วมเหม็นด้วยจุลินทรีย์-Kasama
bulletจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย-KASAMA
bulletวิธีดับกลิ่นส้วม/วิธีดับกลิ่นส้วมเหม็น
bulletท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น
bulletการใช้จุลินทรีย์-Kasama ทำความสะอาดห้องน้ำปั๊มน้ำมัน
bulletวิธีดับกลิ่นท่อน้ำทิ้ง/วิธีดับกลิ่นท่อระบายน้ำทิ้ง
bulletของเสียในห้องน้ำห้องส้วม
bulletวิธีดับกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ
bulletกลิ่นเหม็นห้องน้ำ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่น ซื้อที่ไหน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ ซื้อที่ไหน
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ลดกลิ่นห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นเหม็นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ
bulletดับกลิ่นห้องน้ำ/ดับกลิ่นส้วม
bulletการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดห้องน้ำ
bullet(( การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ ))
bulletการบำบัดน้ำเสียในหมู่บ้านด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการดูแลบ่อเกรอะไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวน
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นน้ำเน่าเสียดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น
bulletจำหน่ายอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย
bulletอีเอ็มดับกลิ่น
dot
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย
dot
bulletจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletจุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในห้องน้ำห้องส้วม
bulletห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็น
bulletวิธีแก้ห้องน้ำเหม็น
bulletส้วมเหม็น ทำไงดี?
bulletส้วมเหม็น ทำอย่างไร?
bulletกลิ่นเหม็นในห้องน้ำ
bulletชักโครกมีกลิ่นเหม็นมีวิธีแก้ไข
bulletท่อน้ำทิ้งมีกลิ่น
bulletห้องน้ำคอนโดมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำโรงแรมมีกลิ่นเหม็น/ห้องน้ำอพาร์ทเม้นท์มีกลิ่นเหม็น
bulletการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสียด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในตลาดสด
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดของเสียในร้านอาหารและภัตตาคาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในโรงพยาบาลและคลีนิก
bulletการทำงานของจุลินทรีย์
bulletประโยชน์ของจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletการใช้จุลินทรีย์ให้ได้ผลดี
bulletความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
bulletวิธีการกำจัดกลิ่นเหม็นด้วยจุลินทรีย์
bulletการแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
dot
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
dot
bulletน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย น้ำท่วม
bulletem บำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีบำบัดน้ำเสีย
bulletการบำบัดน้ำเสีย
bulletวิธีการบำบัดน้ำเสีย
bulletน้ำเสียและการบําบัดน้ำเสียแบบง่ายๆ
bulletอีเอ็มบำบัดน้ำเสีย/อีเอ็มดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
bulletการใช้จุลินทรีย์กำจัดไขมันในโรงอาหาร
bulletการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มดับกลิ่นในไซท์งานก่อสร้าง
dot
การใช้จุลินทรีย์ในส่วนอื่นๆ
dot
bulletกลิ่น / กลิ่นไม่พึงประสงค์
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข : น้ำยาดับกลิ่นสุนัข
bulletกลิ่นสุนัข/กลิ่นสัตว์เลี้ยง
bulletวิธีกําจัดกลิ่นสุนัข/วิธีกำจัดกลิ่นสัตว์เลี้ยงด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกชนิด
bulletการกำจัดกลิ่นห้องน้ำด้วยจุลินทรีย์อีเอ็ม
bulletส้วมเหม็น / ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น/กลิ่นส้วม
bulletห้องน้ำเหม็นอับ
bulletจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ / ห้องส้วม
bulletส้วมเต็มง่าย
bulletส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
bulletการเก็บรักษาจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletปัญหาการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นอย่างไรจึงจะได้ผล ?
dot
= การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ =
dot
bulletดับกลิ่นในห้องน้ำและห้องนอนด้วยจุลินทรีย์ดับกลิ่น
bulletการใช้จุลินทรีย์ทะลวงในท่อที่อุดตัน
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นในสวนสัตว์
bulletการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นสุนัข
bulletสารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์
bulletการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ประจำวัน
bulletการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์ในบ้าน
bulletจำหน่ายจุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
bulletทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย?
bulletการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
bulletแผนผังเว็บไซต์
bulletไทยรัฐ
bulletเดลินิวส์
bulletคมชัดลึก
bulletแนวหน้า
bulletบริหารจัดการ
bulletLoGo
bulletHotmail
bulletYahoo
dot
ธนาคาร
dot
bulletกรุงเทพ
bulletกสิกร
bulletThailandservices
bulletYoutube
bulletแปลงไฟล์
bulletFB
bulletGmail


มีปัญหาฟาร์มเป็ดส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ฟาร์มไก้ส่งกลิ่นเหม็นมากๆแก้ไขได้ง่ายๆ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น, แก้บ่อเกรอะเหม็น, ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นทำอย่างไร? อยากรู้คลิกดูที่นี่..
ดับกลิ่นสุนัข, ดับกลิ่นฟาร์มสุนัข, ดับกลิ่นคอกสุนัข, ดับกลิ่นกรงสุนัข, ดับกลิ่นมูลสัตว์เลี้ยง, ดับกลิ่นมูลสุนัข, ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง
ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มหมูส่งกลิ่นเหม็น, ฟาร์มสัตว์เลี้ยงส่งกลิ่นเหม็น, กลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, แก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มหมู, ดับกลิ่นฟาร์มสัตว์เลี้ยง,
ห้องน้ำเหม็น, ส้วมเหม็น, จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น, จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, จุลินทรีย์อีเอ็ม, จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูง, อีเอ็ม, จำหน่ายอีเอ็ม, จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ขายอีเอ็ม, ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย, ดับกลิ่นส้วมเหม็น, บำบัดน้ำเ


น้ำเสีย

    

กำจัดไนโตรเจนหรือลดค่า TKN ในบ่อบำบัดน้ำเสียไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถกำจัดไนโตรเจนได้แล้ว เพราะเราได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งรวมอยู่ในจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเรียบร้อยแล้ว ตัวที่ลดค่า TKN ในน้ำเสียได้ก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งเพียงเท่านั้น

ที่นี่..เราวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ปัญหาแนะนำให้กับลูกค้าที่ซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปจากเรา ให้ใช้งานจุลินทรีย์ในแต่ละเรื่องอย่างถูกต้อง เช่น การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียใช้อย่างไร ใช้ในจุดใด ใช้ในปริมาณเท่าใด ปรับให้เข้ากับบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่ลูกค้ามีอยู่อย่างไร หรือกรณีการนำจุลินทรีย์ไปใช้ในการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น ) จะใช้อย่างไร ใช้ในจุดไหน ใช้ปริมาณเท่าใด ฯลฯ การใช้จุลินทรีย์อย่างตรงจุดและตรงประเด็น การใช้งานจุลินทรีย์เป็นและใช้ถึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า เราปฏิบัติเช่นนี้ 

จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีความสำคัญและความจำเป็นอย่างมากในบ่อบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่ง ถ้าจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียมีน้อยจะทำให้เกิดปัญหาบ่อบำบัดน้ำเสียเริ่มส่งกลิ่นเหม็นมากขึ้นเรื่อยๆ นี่คือความสำคัญของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย

 หน้าที่โดยตรงของผู้ดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสีย 

หน้าที่ประจำซึ่งถือว่าเป็นงานที่ต้องปฏิบัติเป็นประจำอย่างต่อเนื่องของเจ้าของอาคารสำนักงานต่างๆ และนิติบุคคลอาคารชุดที่เป็นคอนโดมิเนียมทุกๆแห่งที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมของกรมควบคุมมลพิษ 

1 . ดูแลและควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆส่วนให้อยู่ในสภาพพร้อมการใช้งานได้ตลอดเวลา การบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องจะมีผลต่อประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง หมั่นตรวจสอบเครื่องมือต่างๆให้พร้อมทำงานและสภาพบ่อบำบัดอยู่เป็นประจำ  

2.  ตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ของบ่อบำบัดน้ำเสียเป็นประจำทุกเดือน ( หรือไม่น้อยกว่า 3 เดือน / ครั้ง ) เก็บตัวอย่างน้ำเสียในบ่อที่ 1 ( ก่อนบำบัด ) และเก็บตัวอย่างน้ำในบ่อสุดท้าย ( ที่ผ่านการบำบัดแล้ว ) เข้าตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ต่างๆในห้องปฏืบัติการ เพื่อตรวจสอบค่ามาตรฐานน้ำเสียที่ทางราชการกำหนดไว้  บันทึกในตารางค่าพารามิเตอร์ในแต่ละเดือน

จุลินทรีย์มีบทบาทหรือความสำคัญต่อระบบบำบัดน้ำเสียอย่างไร? จุลินทรีย์มีความสำคัญต่อบ่อเกรอะอย่างไร? หลายๆท่านคงอยากจะรู้

จุลินทรีย์หรือจุลชีพ เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น มีทั้งประเภทให้ประโยชน์ ให้โทษ และเป็นกลาง มีหลากหลายสายพันธุ์บนโลกใบนี้ ในที่นี้จะขอกล่าวหรือนำเรื่องราวของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์โดยเฉพาะประเด็นการใช้จุลินทรีย์ไปบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียต่างๆ รวมไปถึงการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ซึ่งต้องอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทั้งสิ้น ในการย่อยสลายของเสียต่างๆให้มีขนาดเล็กลงเรื่อยๆถือว่าเป็นหน้าที่ของจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายโดยตรง ซึ่งจะเป็นกลุ่มสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์จะถูกย่อยสลายในธรรมชาติ การย่อยขยะเศษใบไม้ใบหญ้าให้มีโมเลกุลเล็กลงเป็นผงเป็นฝุ่นเป็นปุ๋ยก็เป็นผลงานของจุลินทรีย์นั่นเอง ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลายแล้ว โลกใบนี้ก็จะเต็มไปด้วยขยะของเสียต่างๆจนล้นโลกไปแล้ว

กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic bacteria )และ กลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic bacteria ) ล้วนมีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากต่อระบบบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบ  สร้างระบบบำบัดน้ำเสียขึ้นมาทุกๆระบบก็เพื่อต้องการดึงจุลินทรีย์กลุ่มที่ให้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมาใช้งาน

น้ำเสียก็ถือว่าเป็นของเสีย เพราะในน้ำเสียนั้นมีสารปนเปื้อนอยู่ ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ในความเป็นจริงเมื่อเกิดปัญหาน้ำเสียขึ้นจะต้องทำการบำบัดน้ำเสียนั้นๆให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมต่อไป น้ำเสียมีให้พบเห็นแทบจะทุกหนทุกแห่งที่มีมนุษย์เกิดขึ้น ตามอาคารบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ ถือว่าเป็นแหล่งผลิตน้ำเสียโดยตรง น้ำเสียเหล่านี้ถ้าถูกปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะจะส่งผลให้เกิดมลภาวะและมลพิษต่อสาธารณะส่วนรวมได้ การบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งของทุกๆคนที่ต้องช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมของตัวเองไม่ให้เกิดมลภาวะทางน้ำ เพราะน้ำคือ ชีวิต  สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ต้องบริโภคและใช้น้ำในการดำเนินชีวิต ถ้ามีแต่น้ำเสียทั้งหมด สิ่งมีชีวิตทุกชนิดก็จะตายแทบทั้งหมด ไม่มีใครต้องการบริโภคน้ำเสีย ทุกๆคนต้องการน้ำสะอาดน้ำที่มีคุณภาพดีในการบริโภคและอุปโภคในแต่ละวัน 

ความหมายของ  น้ำเสีย

น้ำเสีย คือ น้ำที่ปนเปื้อนและเจือปนสิ่งสกปรกและสิ่งปฏิกูลทั้งหลาย ( สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ) ทำให้น้ำมีสภาพเปลี่ยนไปกลายเป็นสภาพน้ำเสีย อุปโภคและบริโภคไม่ได้ น้ำเสีย จะมีค่า BOD >= 100  ppm.  และค่า  DO <  3  ppm. ยิ่งค่า DO ต่ำมากๆจะเกิดการเน่าเสียของน้ำวิกฤตมากๆ จนเป็นมลภาวะและมลพิษทางสิ่งแวดล้อม 

การบำบัดน้ำเสียโดยใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย

อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆต้องใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลาย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆยังจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้. -

1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพเจริญเติบโต 

2. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( ใช้วิธีการแลกอิเล็คตรอนกับสารประกอบต่างๆ )

การบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สาธารณะ

ในกระบวนการบำบัดน้ำเสีย ส่วนใหญ่จะมีการสร้างบ่อบำบัดน้ำเสียขึ้นในแต่ละองค์กร เพื่อรองรับน้ำเสียจากอาคารสำนักงาน บ้านเรือนหรือในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อนำน้ำเสียมารวมกันที่บ่อบำบัดน้ำเสีย แล้วทำการบำบัดต่อไป ซึ่งหน้าที่ของการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัดนั้นเป็นหน้าที่โดยตรงของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ในบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆต้องมีปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆเพียงพอต่อการดึงจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์มาใช้งานย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัดนั้นๆ กรณีที่มีออกซิเจนในน้ำเสียนั้นมีน้อยหรือแทบไม่มีเลย ก็จะส่งผลให้จุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำงานไม่ได้ ( ไม่มีจุลินทรีย์หรือมีน้อยในบ่อบำบัดน้ำเสีย ) ผลที่ติดตามมาก็คือ น้ำเสียล้นระบบและปัญหากลิ่นเริ่มติดตามมา การแก้ปัญหานี้มีทางเดียวก็คือ การเพิ่มหรือเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้เกิดการย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย นี่คือบทบาทและความสำคัญขงจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในบ่อบำบัดน้ำเสียและบ่อเกรอะ ( บ่อส้วม )

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้กับทุกๆระบบ  โดยเฉพาะกับระบบที่มีปริมาณจุลินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้ำมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย ( ระบบเติมอากาศทั่วๆไป ) น้ำเน่าเหม็นและน้ำที่เน่าเสียมีที่มาจากปริมาณจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้น

น้ำเสียมีที่มาจากหลายสาเหตุ ทั้งน้ำเสียจากสารอินทรีย์วัตถุและน้ำเสียที่เกิดจากการใช้สารเคมีในที่ต่างๆ การกำจัดน้ำเสียในแต่ละสาเหตุก็แตกต่างกันออกไป
น้ำเสียคือน้ำที่ปนเปื้อนสิ่งปฏิกูลทั้งหลายสะสมมากขึ้นก่อให้เกิดการเน่าเหม็นจากปฏิกิริยาของแบคทีเรียบางโคโลนี ซึ่งในน้ำเสียปริมาณออกซิเจนจะน้อยกว่ามาตรฐานทั่วๆไป รวมถึงค่า pH , BOD , COD ก็ไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ประเทศไทยประสบกับภาวะน้ำเสียนับวันจะเพิ่มทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้เป็นเพราะเราใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือยและทิ้งเป็นขยะ ซึ่งปริมาณขยะในแต่ละวันจะมีมากมายและก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ กลิ่นเน่าเหม็น สร้างมลภาวะกลิ่นให้กับสิ่งแวดล้อมโดยรวม โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพฯ ซึ่งมีจำนวนประชากรหนาแน่นและแต่ละคนก็ผลิตขยะและสิ่งสกปรกทิ้งลงตามแหล่งน้ำสาธารณะ ก่อให้เกิดน้ำเสียขึ้นโดยที่เรารู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าน้ำที่เราทำให้เสียนั้นที่แท้แล้ววันหนึ่งเราจะต้องนำกลับมาใช้บริโภคอาจจะดื่มหรือใช้งานอย่างอื่น  นอกจากนี้น้ำเสียยังเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคชั้นดี ซึ่งส่วนมากน้ำทิ้งตามบ้านแต่ละหลังไม่ได้ผ่านการบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนออกสู่สาธารณะ จะเห็นว่าบ้านทุกหลังช่วยกันสร้างน้ำเสียในทุกๆวันในปริมาณที่มากมหาศาล ดังนั้นในแม่น้ำลำคลองจึงเกิดปรากฎการณ์น้ำเน่าเสีย เช่น คลองแสนแสบที่น้ำมีสีดำตลอดลำคลอง ถือเป็นมลภาวะของสิ่งแวดล้อม เหตุเกิดจากการทิ้งน้ำเสียลงในแม่น้ำจนปริมาณออกซิเจนลดลง ทำให้แม่น้ำเกิดการเน่าเหม็นขึ้น  ถ้าทุกบ้านบำบัดน้ำทิ้งก่อนปล่อยออกสู่สาธารณะก็จะช่วยลดน้ำเสียไปในตัว  จะเห็นว่าน้ำเสียส่วนมากเกิดจากฝีมือของมนุษย์เอง ยิ่งที่ไหนมีประชากรอยู่อาศัยมากและไม่มีมาตรการใดรองรับในการจัดระเบียบน้ำก็ย่อมส่งผลกระทบต่อแม่น้ำอย่างแน่นอน
 

 

 

 

 

 

  การใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย ก่อนอื่นต้องรู้ข้อมูลของน้ำเสียก่อนว่ามีสาเหตุมาจากอะไร เป็นน้ำเสียมาจากส่วนไหน ปริมาณมากเท่าใด วิกฤตมากน้อยเพียงใด มีที่กักเก็บน้ำเสียนั้นหรือไม่ เพื่อเราจะได้นำข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์ในการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้น เราจะได้รู้ว่าจะต้องใช้ปริมาณเท่าใด ใช้ตรงจุดไหน หลังจากนั้นก็ใช้จุลินทรีย์บำบัดตามขั้นตอนการใช้ต่อไป

   น้ำเสียในประเทศไทยส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับการบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม  น้ำเสียจึงเป็นปัญหาใหญ่อีกปัญหาหนึ่งของประเทศที่ยังไม่มีหน่วยงานใดแก้ไขให้เป็นระบบแบบจริงจัง
  

 

 

 

 

 

การใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น/จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ควรใช้อย่างไรจึงจะถูกต้องและเหมาะสม?? 

   ในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น ไม่ว่าจะใช้ดับกลิ่นหรือใช้บำบัดน้ำเสีย ใช้เป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ผู้ใช้ควรใช้ต่อเนื่องติดต่อกัน ซึ่งส่วนมากจะเข้าใจกันว่าใช้จุลินทรีย์ครั้งแรกก็พอแล้ว ดับกลิ่นครั้งแรกกลิ่นก็หายไม่ต้องใช้ต่อไปอีกเพราะกลิ่นหายหมดแล้ว  ในความเป็นจริงเป็นการเข้าใจผิดของผู้ใช้จุลินทรีย์  ที่ถูกต้องก็คือ ต้องใช้ต่อเนื่องเรื่อยๆ ยกตัวอย่าง เช่น ใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมหรือบ่อเกรอะ  ในความเป็นจริงสิ่งปฏิกูลในส้วมหรือบ่อเกรอะในบ้านเราเกิดขึ้นทุกๆวัน ดังนั้นจึงมีสิ่งปฏิกูลและสิ่งสกปรกเกิดเพิ่มขึ้นในทุกๆวันเช่นกัน การใช้เพียงครั้งแรกแล้วไม่ใช้อีกเลยทั้งๆที่มีสิ่งปฏิกูลเกิดขึ้นทุกวัน เป็นความเข้าใจผิดอย่างมาก เพราะจุลินทรีย์จะเข้าไปย่อยสลายสิ่งปฏิกูลเหล่านั้นและก็จะสลายไปในที่สุดตามระยะเวลาของมันเอง ไม่สามารถอยู่ย่อยสลายได้ตลอดกาลจำเป็นอย่างยิ่งต้องหมั่นเติมจุลินทรีย์เพิ่มอย่างต่อเนื่อง อาจจะเติมอาทิตย์ละครั้ง ซึ่งขึ้นอยู่กับปริมาณของสิ่งปฏิกูลที่เกิดขึ้นเป็นหลัก  การเติมจุลินทรีย์ในส้วมหรือบ่อเกรอะควรใช้แบบสดและเพียวไม่ผสมน้ำ ซึ่งจะดับกลิ่นได้อย่างรวดเร็ว  จุลินทรีย์ที่ดับกลิ่นไม่ค่อยมีประสิทธิภาพส่วนมากจะเป็นประเภทเก่าเก็บหรือที่มีความเข้มข้นต่ำ
     ดังนั้นการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นจึงควรใช้ตามคำแนะนำ  ไม่จำเป็นต้องใช้อย่างประหยัดหรือใช้น้อยจนเกินไป ซึ่งจะไม่ได้ผลตามที่ต้องการ  สามารถใช้เข้มข้นและมากได้ตามความต้องการไม่มีอันตรายใดๆ และใช้ตามระยะเวลาที่กำหนด  ไม่ใช่ 1เดือนครั้งหรือ 6 เดือนครั้ง  ปัญหามันเกิดขึ้นทุกๆวัน เช่น มีสิ่งปฏิกูลเกิดขึ้นทุกๆวัน  สุนัขฉี่หรือถ่ายมูลทุกๆวัน เป็นต้น ดังนั้น จึงจำเป็นต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ควรทิ้งระยะเวลาห่างจนเกินไป ถ้ารู้ว่าเริ่มมีกลิ่นแล้วให้ใช้ได้เลย หรืออาจจะใช้ทุกวันก็ได้ ซึ่งจะเป็นการดีมากๆ เพราะสิ่งสกปรกถูกบำบัดทุกวัน กลิ่นก็จะไม่มี ทำให้สภาพสิ่งแวดล้อมโดยรวมดีขึ้น สุขภาพจิตดีขึ้นตามลำดับ  มีหลายท่านที่ต้องการนำไปทดลองใช้ก่อน ซึ่งถ้าใช้ถูกวิธีก็จะได้ผลดี  แต่ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีก็จะไม่ได้ผลเท่าที่ควร  จุลินทรีย์ดับกลิ่นได้ผ่านการทดลองทางด้านวิชาการต่างๆ ผ่านสถาบันชั้นนำทั้งในและต่างประเทศมาทั่วโลกแล้ว จุดเด่นๆของจุลินทรีย์ดับกลิ่นก็คือไม่มีสารเคมีเจือปน จึงมีความปลอดภัยสูง สามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง
 

อธิบายกระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ภาพบน )

จากภาพบนเป็นการบำบัดน้ำเสียระบบ AS เติมอากาศ ( จุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดใช้ออกซิเจน ) + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลาย ) จะเห็นได้ว่าถ้าเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบ AS เดิมในบ่อที่ 1 จะเป็นบ่อรับน้ำเสียและตกตะกอนเบื้องต้นธรรมดาเท่านั้น ( การย่อยสลายเกิดขึ้นน้อยมากในบ่อนี้ ) ก่อนที่จะผ่านเข้าไปบ่อเติมอากาศบ่อที่ 2 ซึ่งเป็นบ่อที่ทำการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้มากที่สุดในระบบนี้ ( บ่อย่อยสลายขงเสียโดยใช้จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) และส่งต่อไปยังบ่อพักน้ำทิ้งที่บำบัดแล้วในบ่อที่ 3 ( ตามภาพบน ) การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียส่วนใหญ่ในระบบ AS นี้จะเกิดขึ้นในจุดเดียวคือ บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี  แต่เมื่อเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเข้าไปเพิ่มเติม ( ในบ่อที่ 1 ) จะเกิดการย่อยสลายในบ่อที่ 1 หรือบ่อแรกเพิ่มขึ้นทันทีอีกจุดหนึ่ง ( เหมือนบ่อเติมอากาศ ) กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ออกซิเจนจึงไม่มีความจำเป็นสำหรับจุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆได้ทันที จะเห็นได้ว่าการย่อยสลายของเสียเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 จุดหรือ 2 บ่อ ( บ่อที่ 1 และ บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งเป็นการบำบัดน้ำเสียแบบดับเบิ้ล คือ บ่อที่ 1 จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นตัวบำบัด ( ย่อยสลายของเสียต่างๆ )เป็นด่านแรกก่อนที่จะส่งต่อไปบำบัดอีกชั้นหนึ่งที่บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลาย ) จึงส่งผลให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและการบำบัดน้ำเสียทำได้ดีมากยิ่งขึ้น ค่าพารามิเตอร์ต่างๆจะลดลงตั้งแต่การย่อยสลายหรือการบำบัดในบ่อแรกแล้ว การบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆซ้ำในบ่อเติมอากาศ ( โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ยิ่งจะทำให้ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น BOD , SS , TDS , FOG , TKN ลดลงมากยิ่งขึ้นไปอีก ตะกอนต่างๆก็จะลดลงเหลือน้อยมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเป็นเพราะประสิทธิภาพการบำบัดสองชั้นดังกล่าว ( บำบัดด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อแรกและบำบัดด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศ) จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งดีขึ้นกว่าปกติที่เคยเป็น ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้นเป็นเพราะผลของการบำบัดหรือการย่อยสลายของเสีย 2 ชั้น ปฏิกิริยาการย่อยสลายก็จะรวดเร็วขึ้นกว่าปกติ ของเสียต่างๆในน้ำเสียจึงไม่เป็นภาระหนักให้กับบ่อเติมอากาศเพียงจุดเดียวอีกต่อไป ( ไม่เป็นภาระหนักให้กับจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ที่อาจย่อยสลายของเสียได้ไม่หมดหรือย่อยสลายได้เพียงบางส่วนเล็กน้อย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ในบ่อสุดท้ายบ่อยๆได้

   

  สรุป

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในระบบ AS และยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศอีกชั้นหนึ่ง การย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพสูงเป็นพิเศษ  ส่งผลให้ระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เป็นการบำบัดน้ำเสียโดยการใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย 2  กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจน ) และกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ทำให้สสารที่เจือปนอยูในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วๆไป

  หมายเหตุ  :   จุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ ( ในทั้งหมด 6 ระบบ ) นอกจากบำบัดน้ำเสียได้ดีแล้ว ยังมีคุณสมบัติเด่นๆในเรื่องของการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆเพิ่มอีกด้วย

         

มีปัญหาบ่อดักไขมันส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน น้ำเน่าเหม็นน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน  บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ  ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ        

          ถ้าใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียเป็นก็จะแก้ปัญหาให้คุณได้ โดยเฉพาะการดับกลิ่น ทั้งดับกลิ่นเน่าเหม็น ดับกลิ่นห้องน้ำ ดับกลิ่นส้วม เห็นผลทันใจ

  


         

 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่..

จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
แก้ปัญหาค่า BOD,SS,TDS สูงในคอนโดมิเนี่ยมอาคารสำนักงาน คลิกที่นี่.. 

เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง  คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่..

การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. 
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงสุกรทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 
กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสียเกิดมาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. 
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่..
วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 
การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย&จุลินทรีย์ดับกลิ่นที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่...
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย คลิกที่นี่.....
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์  คลิกที่นี่... 
ปัญหาของระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่..
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในร้านอาหาร & ภัตตาคารทุกๆแห่ง คลิกที่นี่...
การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงแรมและรีสอร์ททั่วๆไป คลิกที่นี่..
การบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั่วๆไป คลิกดูที่นี่..   

 

        

 จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น

ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ  คลิกดูที่นี่..  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. 

ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูที่นี่...   

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด  คลิกที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู  คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ  คลิกดูที่นี่..

การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะ / จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นขยะเหม็น  คลิกดูข้อมูลที่นี่..
ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น/ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 

 

มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ

ดัชนีคุณภาพน้ำ ค่ามาตรฐาน วิธีวิเคราะห์
1. ค่าความเป็นกรดและด่าง (pH value) 5.5-9.0 pH Meter
2. ค่าทีดีเอส (TDS หรือ Total Dissolved Solids)
  • ไม่เกิน 3,000 มก/ล. หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม ที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นสมควรแต่ไม่เกิน 5,000 มก./ล.
  • น้ำทิ้งที่จะระบายลงแหล่งน้ำกร่อยที่มีค่าความเค็ม (Salinity) เกิน 2,000 มก./ล. หรือลงสู่ทะเลค่าทีดีเอสในน้ำทิ้งจะมีค่ามากกว่าค่าทีดีเอส ที่มีอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำทะเลได้ไม่เกิน 5,000 มก.ล.
ระเหยแห้งที่อุณหภูมิ 103-105oC เป็นเวลา 1 ชั่วโมง
3. สารแขวนลอย (Suspended Solids) ไม่เกิน 50 มก./ล. หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม หรือประเภทของระบบบำบัดน้ำเสียตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นสมควรแต่ไม่เกิน 150 มก./ล. กรองผ่านกระดาษกรองใยแก้ว (Glass Fiber Filter Disc)
4. อุณหภูมิ (Temperature) ไม่เกิน 40°C เครื่องวัดอุณหภูมิ วัดขณะทำการเก็บตัวอย่างน้ำ
5. สีหรือกลิ่น ไม่เป็นที่พึงรังเกียจ ไม่ได้กำหนด
6. ซัลไฟด์ (Sulfide as H2S) ไม่เกิน 1.0 มก./ล. Titrate
7. ไซยาไนด์ (Cyanide as HCN) ไม่เกิน 0.2 มก./ล. กลั่นและตามด้วยวิธี Pyridine Barbituric Acid
8. น้ำมันและไขมัน (Fat, Oil and Grease) ไม่เกิน 5.0 มก./ล. หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือ ประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นสมควรแต่ไม่เกิน 15 มก./ล. สกัดด้วยตัวทำละลาย แล้วแยกหาน้ำหนักของน้ำมันและไขมัน
9. ฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) ไม่เกิน 1.0 มก./ล. Spectrophotometry
10. สารประกอบฟีนอล (Phenols) ไม่เกิน 1.0 มก./ล. กลั่นและตามด้วยวิธี 4-Aminoantipyrine
11. คลอรีนอิสระ (Free Chlorine) ไม่เกิน 1.0 มก./ล. lodometric Method
12. สารที่ใช้ป้องกันหรือกำจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ (Pesticide) ต้องตรวจไม่พบตามวิธีตรวจสอบที่กำหนด Gas-Chromatography
13. ค่าบีโอดี (5 วันที่อุณหภูมิ 20 °C (Biochemical Oxygen Demand : BOD) ไม่เกิน 20 มก./ล. หรือแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม ตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นสมควร แต่ไม่เกิน 60 มก./ล. Azide Modification ที่อุณหภูมิ 20°C เป็นเวลา 5 วัน
14. ค่าทีเคเอ็น (TKN หรือ Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่เกิน 100 มก./ล. หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม ตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษ เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 200 มก./ล. Kjeldahl
15. ค่าซีโอดี (Chemical Oxygen Demand : COD) ไม่เกิน 120 มก./ล.หรืออาจแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน้ำทิ้ง หรือประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม ตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษ เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 400 มก./ล. Potassium Dichromate Digestion
16. โลหะหนัก (Heavy Metal)    
  1. สังกะสี (Zn) ไม่เกิน 5.0 มก./ล. Atomic Absorption Spectro Photometry ชนิด Direct Aspiration หรือวิธี Plasma Emission Spectroscopy ชนิด Inductively Coupled Plama : ICP
  2. โครเมียมชนิดเฮ็กซาวาเล้นท์
(Hexavalent Chromium)
ไม่เกิน 0.25 มก./ล.
  3. โครเมียมชนิดไตรวาเล้นท์
(Trivalent Chromium)
ไม่เกิน 0.75 มก./ล.
  4. ทองแดง (Cu) ไม่เกิน 2.0 มก./ล.
  5. แคดเมียม (Cd) ไม่เกิน 0.03 มก./ล
  6. แบเรียม (Ba) ไม่เกิน 1.0 มก./ล
  7. ตะกั่ว (Pb) ไม่เกิน 0.2 มก./ล.
  8. นิคเกิล (Ni) ไม่เกิน 1.0 มก./ล.
  9. แมงกานีส (Mn) ไม่เกิน 5.0 มก./ล.
  10. อาร์เซนิค (As) ไม่เกิน 0.25 มก./ล. Atomic Absorption Spectrophotometry ชนิด Hydride Generation หรือวิธี Plasma Emission Spectroscopy ชนิด Inductively Coupled Plasma : ICP
  11. เซเลเนียม (Se) ไม่เกิน 0.02 มก./ล.
  12. ปรอท (Hg) ไม่เกิน 0.005 มก./ล. Atomic Absorption Cold Vapour Techique

น้ำเสียและระบบน้ำเสีบแบบต่างๆ

น้ำเสียชุมชน (Domestic Wastewater)
น้ำเสียและของเสียอันตรายจากบ้านเรือน (Wastewater and Household Hazardous Waste)
การบำบัดน้ำเสียและกากตะกอน (Wastewater Treatment and Sludge Disposal)
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบติดกับที่ (Onsite Treatment)
บ่อดักไขมัน (Grease Trap)
ระบบระบายน้ำเสีย (Sewerage System)
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond)
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อเติมอากาศ (Aerated Lagoon หรือ AL)
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบึงประดิษฐ์ (Constructed Wetland)
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ (Activated Sludge Process)
ระบบบำบัดน้ำเสียคลองวนเวียน (Oxidation Ditch)
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบแผ่นจานหมุนชีวภาพ (Rotating Biological Contactor ; RBC)


 
                       ((   กลับหน้าแรกจุลินทรีย์ย่อยสลายบำบัดน้ำเสีย  ))