การแก้ปัญหาน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย
แนวทางในการนำจุลินทรีย์ย่อยสลายไปใช้ในการย่อยสลายของเสียทั่วไป
ของเสียที่เหมาะสำหรับการย่อยของจุลินทรีย์คือของเสียที่มาจากสารอินทรีย์ จะทำให้เกิดปฏิกิริยาการย่อยอย่างต่อเนื่อง กรณีที่ของเสียเป็นสารเคมี อาจส่งผลทำให้จุลินทรีย์ตายได้ง่ายๆ กลิ่นเน่าเหม็นจากการหมักหมมของสารอินทรีย์เกิดจากกระบวนการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ที่ไม่สมบูรณ์ กล่าวคือ ปริมาณของเสียมีจำนวนมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์ที่มีอยู่ จึงทำให้เกิดกลิ่นเน่าเหม็นขึ้น วิธีการแก้ปัญหานี้แบบง่ายๆคือการเติมจุลินทรีย์ลงไปในระบบ ให้ความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์มากกว่าของเสียที่มีอยู่ ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียให้สมบูรณ์และเร็วขึ้น
โดยทั่วไปจุลินทรีย์ในโลกนี้มีอยู่ด้วยกัน 3 กลุ่ม คือ
1. จุลินทรีย์กลุ่มที่ให้ประโยชน์กับสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีประมาณ 10% ในธรรมชาติ
2. จุลินทรีย์กลุ่มที่ให้โทษ ซึ่งก็คือกลุ่มที่สร้างปัญหาต่างๆทั้งต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีประมาณ 10% ในธรรมชาติ
3. จุลินทรีย์กลุ่มที่เป็นกลาง คือ อาจให้ทั้งคุณหรือโทษก็ได้ ถ้ากลุ่มนี้รวมตัวกับกลุ่มข้อ 1 ก็จะเป็นการให้ประโยชน์ แต่ถ้ารวมกับกลุ่มข้อ 2 จะให้โทษ จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีมากประมาณ 80% ในธรรมชาติ
ในธรรมชาติจะมีจุลินทรีย์ทั้ง 3 กลุ่มนี้อยู่แล้ว แต่ละแห่งจะมีปริมาณหรือความหนาแน่นของจุลินทรีย์แต่ละกลุ่มไม่เท่ากัน ดังนั้นในการใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพจริงๆจึงควรเพิ่มปริมาณของจุลินทรีย์ให้มากกว่าปริมาณของเสีย แต่ส่วนมากจะไม่เข้าใจในจุดนี้ คิดว่าเติมจุลินทรีย์เพียงเล็กน้อยก็สามารถย่อยสลายได้หมดแล้ว หรือเข้าใจว่าเมื่อเติมจุลินทรีย์เพียงเล็กน้อย กลิ่นเหม็นหรือน้ำที่เน่าเสียก็หายไปแล้ว นี่คือปัญหาความไม่เข้าใจในการใช้งานจุลินทรีย์
การที่จะใช้จุลินทรีย์ให้ย่อยสลายของเสียต่างๆให้มีประสิทธิภาพนั้น ต้องทำให้ถึง กล่าวคือต้องเพิ่มปริมาณของจุลินทรีย์ให้มากพอกับของเสียที่เกิดขึ้น รวมไปถึงขั้นตอนการดำเนินการต่างๆในแต่ละจุด จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีความสำคัญและความจำเป็นอย่างมากในบ่อบำบัดน้ำเสียทุกๆแห่ง ถ้าจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียมีน้อยจะทำให้เกิดปัญหาบ่อบำบัดน้ำเสียเริ่มส่งกลิ่นเหม็นมากขึ้นเรื่อยๆ นี่คือความสำคัญของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย หน้าที่โดยตรงของผู้ดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและบ่อบำบัดน้ำเสีย หน้าที่ประจำซึ่งถือว่าเป็นงานที่ต้องปฏิบัติเป็นประจำอย่างต่อเนื่องของเจ้าของอาคารสำนักงานต่างๆ และนิติบุคคลอาคารชุดที่เป็นคอนโดมิเนียมทุกๆแห่งที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมของกรมควบคุมมลพิษ 1 . ดูแลและควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆส่วนให้อยู่ในสภาพพร้อมการใช้งานได้ตลอดเวลา การบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องจะมีผลต่อประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง หมั่นตรวจสอบเครื่องมือต่างๆให้พร้อมทำงานและสภาพบ่อบำบัดอยู่เป็นประจำ 2. ตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ของบ่อบำบัดน้ำเสียเป็นประจำทุกเดือน ( หรือไม่น้อยกว่า 3 เดือน / ครั้ง ) เก็บตัวอย่างน้ำเสียในบ่อที่ 1 ( ก่อนบำบัด ) และเก็บตัวอย่างน้ำในบ่อสุดท้าย ( ที่ผ่านการบำบัดแล้ว ) เข้าตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ต่างๆในห้องปฏืบัติการ เพื่อตรวจสอบค่ามาตรฐานน้ำเสียที่ทางราชการกำหนดไว้ บันทึกในตารางค่าพารามิเตอร์ในแต่ละเดือน จุลินทรีย์มีบทบาทหรือความสำคัญต่อระบบบำบัดน้ำเสียอย่างไร? จุลินทรีย์มีความสำคัญต่อบ่อเกรอะอย่างไร? หลายๆท่านคงอยากจะรู้ จุลินทรีย์หรือจุลชีพ เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น มีทั้งประเภทให้ประโยชน์ ให้โทษ และเป็นกลาง มีหลากหลายสายพันธุ์บนโลกใบนี้ ในที่นี้จะขอกล่าวหรือนำเรื่องราวของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์โดยเฉพาะประเด็นการใช้จุลินทรีย์ไปบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียต่างๆ รวมไปถึงการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ซึ่งต้องอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทั้งสิ้น ในการย่อยสลายของเสียต่างๆให้มีขนาดเล็กลงเรื่อยๆถือว่าเป็นหน้าที่ของจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายโดยตรง ซึ่งจะเป็นกลุ่มสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์จะถูกย่อยสลายในธรรมชาติ การย่อยขยะเศษใบไม้ใบหญ้าให้มีโมเลกุลเล็กลงเป็นผงเป็นฝุ่นเป็นปุ๋ยก็เป็นผลงานของจุลินทรีย์นั่นเอง ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลายแล้ว โลกใบนี้ก็จะเต็มไปด้วยขยะของเสียต่างๆจนล้นโลกไปแล้ว กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic bacteria )และ กลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic bacteria ) ล้วนมีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากต่อระบบบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบ สร้างระบบบำบัดน้ำเสียขึ้นมาทุกๆระบบก็เพื่อต้องการดึงจุลินทรีย์กลุ่มที่ให้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมาใช้งาน น้ำเสียก็ถือว่าเป็นของเสีย เพราะในน้ำเสียนั้นมีสารปนเปื้อนอยู่ ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ในความเป็นจริงเมื่อเกิดปัญหาน้ำเสียขึ้นจะต้องทำการบำบัดน้ำเสียนั้นๆให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมต่อไป น้ำเสียมีให้พบเห็นแทบจะทุกหนทุกแห่งที่มีมนุษย์เกิดขึ้น ตามอาคารบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ ถือว่าเป็นแหล่งผลิตน้ำเสียโดยตรง น้ำเสียเหล่านี้ถ้าถูกปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะจะส่งผลให้เกิดมลภาวะและมลพิษต่อสาธารณะส่วนรวมได้ การบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งของทุกๆคนที่ต้องช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมของตัวเองไม่ให้เกิดมลภาวะทางน้ำ เพราะน้ำคือ ชีวิต สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ต้องบริโภคและใช้น้ำในการดำเนินชีวิต ถ้ามีแต่น้ำเสียทั้งหมด สิ่งมีชีวิตทุกชนิดก็จะตายแทบทั้งหมด ไม่มีใครต้องการบริโภคน้ำเสีย ทุกๆคนต้องการน้ำสะอาดน้ำที่มีคุณภาพดีในการบริโภคและอุปโภคในแต่ละวัน การบำบัดน้ำเสียโดยใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆต้องใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลาย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆยังจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้. - 1. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพเจริญเติบโต
2. กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( ใช้วิธีการแลกอิเล็คตรอนกับสารประกอบต่างๆ ) การบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สาธารณะ ในกระบวนการบำบัดน้ำเสีย ส่วนใหญ่จะมีการสร้างบ่อบำบัดน้ำเสียขึ้นในแต่ละองค์กร เพื่อรองรับน้ำเสียจากอาคารสำนักงาน บ้านเรือนหรือในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อนำน้ำเสียมารวมกันที่บ่อบำบัดน้ำเสีย แล้วทำการบำบัดต่อไป ซึ่งหน้าที่ของการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัดนั้นเป็นหน้าที่โดยตรงของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ในบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆต้องมีปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆเพียงพอต่อการดึงจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์มาใช้งานย่อยสลายของเสียในบ่อบำบัดนั้นๆ กรณีที่มีออกซิเจนในน้ำเสียนั้นมีน้อยหรือแทบไม่มีเลย ก็จะส่งผลให้จุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำงานไม่ได้ ( ไม่มีจุลินทรีย์หรือมีน้อยในบ่อบำบัดน้ำเสีย ) ผลที่ติดตามมาก็คือ น้ำเสียล้นระบบและปัญหากลิ่นเริ่มติดตามมา การแก้ปัญหานี้มีทางเดียวก็คือ การเพิ่มหรือเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้เกิดการย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย นี่คือบทบาทและความสำคัญขงจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในบ่อบำบัดน้ำเสียและบ่อเกรอะ ( บ่อส้วม ) จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้กับทุกๆระบบ โดยเฉพาะกับระบบที่มีปริมาณจุลินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้ำมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย ( ระบบเติมอากาศทั่วๆไป ) น้ำเน่าเหม็นและน้ำที่เน่าเสียมีที่มาจากปริมาณจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้น
มีปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียไม่สมบูรณ์ ปัญหาน้ำเสียในอาคาร บ่อดักไขมันส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน น้ำเน่าเหม็นน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama )บำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นในเวลาเดียวกัน เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่.. จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่.. เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่.. การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้ จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ คลิกดูที่นี่.. การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่..
<< กลับหน้าแรกจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย >>
|