ส้วมเหม็น ทําอย่างไร
ที่นี่..เราวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ปัญหาแนะนำให้กับลูกค้าที่ซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปจากเรา ให้ใช้งานจุลินทรีย์ในแต่ละเรื่องอย่างถูกต้อง เช่น การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียใช้อย่างไร ใช้ในจุดใด ใช้ในปริมาณเท่าใด ปรับให้เข้ากับบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่ลูกค้ามีอยู่อย่างไร หรือกรณีการนำจุลินทรีย์ไปใช้ในการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น ) จะใช้อย่างไร ใช้ในจุดไหน ใช้ปริมาณเท่าใด ฯลฯ การใช้จุลินทรีย์อย่างตรงจุดและตรงประเด็น การใช้งานจุลินทรีย์เป็นและใช้ถึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า เราปฏิบัติเช่นนี้ มีปัญหาส้วมส่งกลิ่นเหม็น? ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น? ห้องน้ำมีกลิ่นแรง? ท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำมีกลิ่น? ห้องน้ำมีกลิ่นคาว? ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น? บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น? ทั้งหมดที่กล่าวมานี้แก้ไขได้ง่ายๆด้วยวิธีธรรมชาติบำบัด ด้วยการใช้จุลินทีย์หอมคาซาม่า เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้มีกลิ่นหอมทันทีที่ใช้งาน ดับกลิ่นและกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทุกชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์ ด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) นวัตกรรมในการกำจัดกลิ่นที่ไม่ต้องใช้สารเคมีใดๆ ให้สิ่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นที่ต้นเหตุโดยตรงด้วยวิธีการธรรมชาติบำบัด ช่วยลดมลภาวะกลิ่นต่างๆในห้องน้ำ
กลิ่นส้วม กลิ่นชักโครก กลิ่นบ่อเกรอะ มาจากจุดใด ? กลิ่นส้วมเหม็นไม่มีใครปรารถนาจะสูดดม กระทบต่อสุขภาพจิตของทุกๆคนที่ได้รับกลิ่นเหม็นจากส้วม หรือกลิ่นเหม็นจากชักโครกในห้องน้ำ หรือกลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะรอบๆบ้านหรือรอบๆอาคารสำนักงาน คอนโดมิเนี่ยม กลิ่นเหล่านี้มีที่มาอย่างไร ? กลิ่นส้วมและกลิ่นชักโครก ถ้ากล่าวถึงส้วมจะนึกถึงคอห่านนั่งยองสมัยก่อน แต่ถ้าห้องน้ำรุ่นใหม่ๆจะนึกถึงชักโครก ซึ่งก็คือจุดที่ทุกๆคนปลดทุกข์ทั้งหนักทั้งเบาลงในจุดนี้เป็นหลัก แน่นอนว่าสิ่งปฏิกูลต่างๆที่ไปจากมนุษย์นั้นล้วนมีกลิ่นอยู่ในตัว ทั้งกลิ่นปัสสาวะและกลิ่นอุจจาระปะปนกัน ย่อมส่งกลิ่นอย่างแน่นอน ซึ่งสิ่งปฏิกูลเหล่านี้อาจมีบางส่วนที่กำจัดไม่หมด อาจเกาะติดอยู่ตามคอห่านหรือชักโครกที่เรามองไม่เห็น ยิ่งสะสมกันเป็นเวลานานกลิ่นยิ่งแรงมากขึ้น นี่คือที่มาของกลิ่นส้วมและกลิ่นชักโครก ยังไม่จบเพียงแค่นั้น กลิ่นสิ่งปฏิกูลทั้งหลายในบ่อเกรอะที่อยู่ใต้ดินอาจมีการลอยขึ้นสู่ที่สูงไปตามท่อลำเลียงของเสียที่ไปลงบ่อเกรอะ กรณีที่มีการต่อท่อน้ำทิ้งลงตรงไปยังบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะอาจลอยขึ้นสู่ที่สูงมาตามท่อระบายน้ำทิ้งเหล่านี้ได้ทุกเมื่อ ก๊าซจากบ่อเกรอะสามารถตีกลับทางชักโครกหรือคอห่านได้ตลอดเวลา โดยเฉพาะช่วงที่มีการราดน้ำหรือกดชักโครกใหม่ๆ กลิ่นจากบ่อเกรอะอาจตีกลับขึ้นมาได้ นี่คือที่มาของกลิ่นส้วมหรือกลิ่นชักโครกอีกกรณีหนึ่ง กลิ่นบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะเป็นบ่อรวมที่รับของเสียและสิ่งปฏิกูลทั้งหมดที่ไปจากชักโครกหรือคอห่าน บรรดาสิ่งปฏิกูลทั้งหลายเหล่านี้ที่ไปจากแต่ละคนที่นั่งชักโครกหรือคอห่านก็มีกลิ่นเหม็นอยู่แล้ว เมื่อลงไปรวมกันทั้งหมดที่บ่อเกรอะก็ยิ่งเพิ่มความรุนแรงของกลิ่นเน่าเหม็นมากยิ่งขึ้น เพราะสิ่งที่ไปจากเราทุกๆคนคือสารอินทรีย์ที่ผ่านการย่อยสลายของร่างกายกลายไปเป็นของเสียและมีกลิ่น เมื่อลงไปรวมๆกันก็ยิ่งเพิ่มความรุนแรงของกลิ่นเป็นทวีคูณ นี่จึงเป็นที่มาของกลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะนั่นเอง แล้วจะจัดการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นเหล่านี้ได้อย่างไร ? เนื่องจากที่มาของกลิ่นเหล่านี้ ถ้ามองไปที่ต้นทางแล้วจะเห็นได้ว่า ส่วนใหญ่ไปจากมนุษย์ซึ่งล้วนเป็นสารอินทรีย์ทั้งนั้นที่มนุษย์บริโภคเข้าไปในร่างกาย ( รับประทาน ) ผ่านการย่อยสลายของร่างกายและจุลินทรีย์บางส่วนก่อนที่จะนำไปทิ้งลงในชักโครกหรือคอห่านเป็นของเสียในที่สุด ซึ่งของเสียเหล่านี้จะสร้างมลพิษ ( ก๊าซพิษต่างๆ ) และมลภาวะ ( กลิ่นเน่าเหม็นต่างๆ ) เกิดขึ้นในบ่อเกรอะ สิ่งที่จะมาทำลายหรือย่อยสลายของเสียเหล่านี้ ( บำบัดและย่อยสลาย ) ก็คือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียนั่นเอง ซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียนี้มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะ แต่เนื่องจากบ่อเกรอะเป็นจุดที่อับอากาศออกซิเจนมีออกซิเจนน้อย กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเกรอะจึงมีน้อย ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียในบ่อเกรอะแทบจะไม่มีเลย จึงส่งผลให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนไม่สามารถดำรงชีพอยู่ได้ในสิ่งแวดล้อมในบ่อเกรอะ ของเสียต่างๆถูกย่อยสลายได้น้อย บ่อเกรอะจึงมีของเสียเต็มง่ายๆ หรือส้วมเต็มง่ายนั่นเอง แล้วจะแก้ไขปัญหาบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นได้อย่างไร ? แน่นอนว่าหลีกเลี่ยงไม่ได้เลยที่ต้องใช้จุลินทรีย์ จะใช้สารเคมีดับกลิ่นก็ได้เป็นแค่ชั่วคราวเท่านั้น สุดท้ายก็มาลงเอยที่จุลินทรีย์ย่อยสลายนั่นเอง ในเมื่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนมีน้อยในบ่อเกรอะ เพราะเป็นจุดอับออกซิเจน ดังนั้น การแก้ไขก็คือ การใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเช่นกัน เพียงแต่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายเท่านั้น กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนกลุ่มนี้ สามารถทำงานย่อยสลายของเสียได้ทั้งในสภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน มีอยู่กระจัดกระจายทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ ในบ่อเกรอะก็มีจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ( จุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) แต่มีในปริมาณที่น้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับของเสียต่างๆที่มีในบ่อเกรอะ ของเสียมีมาก ในขณะที่จุลินทรีย์ย่อยสลายมีน้อย จึงไม่สมดุลกันปัญหากลิ่นจึงติดตามมานั่นเอง จุลินทรีย์หอมคาซาม่าดับกลิ่นได้อย่างไร ? จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จัดอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย รวมถึงการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดับกลิ่น ดังนั้น จึงเหมาะสำหรับการใช้ในบ่อเกรอะที่อับอากาศออกซิเจนหรือในจุดที่ไม่มีออกซิเจนเลย ซึ่งผู้ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าถ้านำไปใช้กำจัดกลิ่นบ่อเกรอะจะได้รับประโยชน์ทั้งการดับกลิ่นบ่อเกรอะและการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะโดยตรง การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในห้องน้ำแบบบูรณาการ กลิ่นไม่พึงประสงค์ในห้องน้ำมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน ทั้งกลิ่นคาว กลิ่นปัสสาวะ กลิ่นสิ่งปฏิกูลต่างๆ กลิ่นจากท่อน้ำทิ้งหรือฟอร์เดรน ในการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นเหล่านี้ให้หมดด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ .- 1. ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าราดลงที่ชักโครกพอประมาณ ( 1-2 ลิตร )เพื่อทำความสะอาดชักโครกและกำจัดเชื้อโรค 2. ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าทำความสะอาดท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำหรือฟอร์เดรนในแต่ละจุด จุดละ 1-2 ลิตร 3. ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าทำความสะอาดพื้นห้องน้ำ ซึ่งอาจใช้ร่วมกับแชมพูก็ได้ แต่ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรดหรือเป็นด่างที่รุนแรง เพราะอาจทำให้จุลินทรีย์ตายได้ 4. ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าทำความสะอาดอ่างล้างมือแต่ละจุด ซึ่งจุดใดที่มีน้ำทิ้งก็ให้ใช้จุลินทรีย์ทำความสะอาดได้เลย เพื่อกำจัดกลิ่นต่างๆที่ติดค้างอยู่ตามจุดต่างๆในห้องน้ำ 5. กรณีที่ห้องน้ำมีโถปัสสาวะก็ให้ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าทำความสะอาดโถปัสสาวะร่วมกับแชมพูได้เลย น้ำทิ้งจากห้องน้ำรวมถึงจุลินทรีย์ที่ใช้ทั้งหมดจะลงไปรวมกันที่บ่อพักน้ำทิ้งที่มีการติดตั้ง แต่ในหลายครัวเรือนหรือบ้านหลายๆหลังจะมีการต่อทั้งน้ำทิ้งในห้องน้ำและน้ำเสียจากชักโครกลงไปรวมกันทั้งหมดในบ่อเกรอะ ซึ่งมีจำนวนมากที่เป็นเช่นนี้ บ้านราคาหลายสิบล้านก็พบอยู่เป็นประจำ ในหลักการที่ถูกต้อง ต้องทำการแยกบ่อน้ำทิ้งจากห้องน้ำออกจากบ่อเกรอะ ( แยกคนละบ่อ ) เพื่อไม่ให้เกิดปัญหากลิ่นจากบ่อเกรอะตีกลับและลอยขึ้นสู่ที่สูง ( ห้องน้ำและส่วนอื่นๆ ) การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในห้องน้ำแบบบูรณาการจะได้รับประโยชน์ดังต่อไปนี้ .- 1. ดับกลิ่นห้องน้ำโดยรวมทั้งหมด ทั้งกลิ่นชักโครก กลิ่นคาว กลิ่นปัสสาวะ ( ยูเรีย ) และอื่นๆ 2. ทำความสะอาดท่อลำเลียงของเสียและน้ำทิ้งจากห้องน้ำ ( ท่อพีวีซี ) ซึ่งจะมีของเสียบางส่วนเกาะอยู่ตามท่อเหล่านี้ 3. จุลินทรีย์ที่ใช้ทำความสะอาดห้องน้ำทั้งหมดจะไหลลงไปรวมกันที่บ่อพักน้ำทิ้งหรือบ่อเกรอะ ( กรณีที่ต่อรวมกันทั้งหมด ) จะได้รับประโยชน์ทั้งในเรื่องการดับกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสียในบ่อพักน้ำทิ้งหรือในบ่อเกรอะ และจุลินทรีย์เหล่านี้ก็จะทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียอีกต่อหนึ่ง ซึ่งเท่ากับในบ่อเกรอะมีจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียโดยอัตโนมัติจากการใช้จุลินทรีย์ในห้องน้ำ นี่คือผลลัพธ์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในห้องน้ำแบบบูรณาการทุกส่วน จุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีจุดเด่นมากในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ดี ใช้แล้วมีกลิ่นหอมทันที จึงเป็นที่มาของคำว่า จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นหรือจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทุกๆชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์ นอกจากนี้ยังช่วยในการกำจัดเชื้อโรค ( กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษก่อเชื้อโรคทั้งหลาย ) ใช้เป็นประจำจะช่วยให้ห้องน้ำสะอาดปราศจากกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เพราะจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่ใช่สารเคมี เป็นจุลินทรีย์ธรรมชาติที่นำมารวมกันเพื่อใช้ประโยชน์ในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียตามสถานที่ต่างๆและที่อยู่อาศัยบ้านเรือนทั่วๆไปทุกๆแห่งสามารถใช้ได้ทันที
ภาพบนเป็นปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสีย ( บำบัดน้ำเสีย ) ของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะหรือบ่อพักน้ำทิ้งก็เกิดขึ้นเช่นนี้ ของเสียต่างๆจะถูกย่อยสลายแปรเปลี่ยนสภาพกลายไปเป็น น้ำ + พลังงาน + ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) + ก๊าซมีเทน ( CH4 ) ตามสมการจำลองด้านบน
คุณสมบัติของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า 1. ย่อยสลายของเสียต่างๆ ( บำบัดน้ำเสีย ) ที่เป็นสารอินทรีย์โดยไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย 2. การดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทุกๆชนิด ที่มีที่มาจากสารอินทรีย์ ที่นี่..เราให้คำแนะนำและคำปรึกษาฟรีๆในการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่านำไปบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ผู้นำจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นเจ้าแรกและเจ้าเดียวในประเทศไทย โปรดระวังของลอกเลียนแบบ ซึ่งปรากฎมีผู้ลอกเลียนแบบของเราโดยไม่ได้รับอนุญาตใดๆ ถ้าเป็นจุลินทรีย์หอม ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่า เพียงรายเดียวเท่านั้น เราจำหน่ายมามากกว่า 10 ปีแล้ว การันตีในความเป็นมืออาชีพในด้านนี้ ซึ่งต้องใช้ทั้งความรู้และความเชี่ยวชาญในการให้คำแนะนำและคำปรึกษาที่ถูกต้องกับลูกค้าทุกๆท่าน จัดส่งฟรีๆทั่วประเทศ สอบถามได้ที่นี่... มีปัญหาเรื่องกลิ่นในห้องน้ำ ห้องส้วม กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่มาจากสารอินทรีย์ สามารถใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากำจัดกลิ่นเหล่านี้ได้ทันทีและรวดเร็ว ดับกลิ่นและกำจัดกลิ่นแบบธรรมชาติบำบัดไม่กระทบสิ่งแวดล้อม ทำไมบ่อเกรอะจึงส่งกลิ่นเหม็น ? ที่บ่อเกรอะเหม็นเพราะปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่อยู่ในบ่อเกรอะนั้นๆ วิธีแก้ไขจึงต้องเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะให้เพียงพอต่อปริมาณของเสียและน้ำเสียในบ่อเกรอะ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า คือทางเลือกในการเพิ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะ เพราะจุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะ ( บำบัดน้ำเสีย ) และยังมีคุณสมบัติในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆในบ่อเกรอะ ซึ่งจุลินรีย์กลุ่มอื่นไม่มีคุณสมบัติในข้อนี้ ส้วมไม่เต็มง่าย บ่อเกรอะไม่เหม็นรบกวน ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเติมบ่อเกรอะอยู่เป้นประจำ ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการกำจัดกลิ่น มีปัญหาบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นบ่อยๆ บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ RUN และ REBOOT บ่อเกรอะของท่านใหม่ด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ด้วยการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์เข้าไปในบ่อเกรอะ เพื่อให้สามารถย่อยของเสียต่างๆได้มากขึ้น รวมทั้งดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นบ่อเกรอะได้รวดเร็วทันใจ เมื่อปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียสมบูรณ์ นั่นหมายความว่า มีจุลินทรีย์ในบ่อเกรอะมากเพียงพอสำหรับการย่อยสลายของเสียต่างๆ กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆก็จะลดลงและหายไปในที่สุด ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นโดยวิธีชีวภาพบำบัด ( ใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น ) ซึ่งไม่ใช่การกลบกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเหมือนกรณีการใช้สารเคมีกลบกลิ่น ในบรรดากลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายที่เกิดจากสารอินทรีย์ล้วนต้องใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดทั้งสิ้น ซึ่งเป็นกฎธรรมชาติบำบัดโดยตรง ผู้นำจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น ผู้นำจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น เจ้าแรกและมีเพียงเจ้าเดียวในประเทศไทย ใช้แล้วกลิ่นหอมทันที เราได้พัฒนาให้จุลินทรีย์มีกลิ่นหอม ซึ่งเหมาะกับการนำไปใช้งานกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลาย บ่อเกรอะคืออะไร ? ทำไมต้องมีบ่อเกรอะทุกๆอาคารและทุกๆบ้านเรือน ? บ่อเกรอะ คือ บ่อที่รับของเสียจากส้วมหรือชักโครกจากการปล่อยเบาและปล่อยหนักปลดทุกข์จะลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะทั้งหมด ทำไมต้องมีบ่อเกรอะ? ถ้าไม่มีการทำบ่อเกรอะแล้ว ของเสียต่างๆที่ไปจากส้วมและชักโครกจะนำไปทิ้งลงที่ไหน? นี่คือที่มาของบ่อเกรอะที่ต้องมีในทุกๆอาคารบ้านเรือนนั่นเอง ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะไปไหนต่อ? ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลาย ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติอยู่แล้ว เพียงแต่มีปริมาณน้อย ( เมื่อเปรียบเทียบกับของเสีย ) โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ในบ่อเกรอะน้ำเสียค่อยข้างวิกฤตหนัก ของเสียที่หมักหมมมีเป็นจำนวนมาก ในขณะที่ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในบ่อเกรอะ ( น้ำเสียในบ่อเกรอะ ) มีปริมาณน้อยมาก ดังนั้น จึงส่งผลให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำงานย่อยสลายไม่ได้ เพราะขาดออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายนั่นเอง บ่อเกรอะเป็นแหล่งที่อับอากาศหรือแทบไม่มีอากาศออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเลยนั่นเอง บ่อเกรอะมีทั้งก๊าซไข่เน่า ก๊าซมีเทน ก๊าซเหล่านี้จะลอยขึ้นสู่ที่สูง เป็นที่มาของกลิ่นส่วนหนึ่ง ทุกครั้งที่มีการกดชักโครก ก๊าซต่างๆจะลอยขึ้นมาตามท่อที่ต่อเชื่อมเข้ากับบ่อเกรอะ ซึ่งรวมทั้งกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในบ่อเกรอะ ดังนั้น จึงควรสูบบ่อเกรอะอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เพื่อนำตะกรันในบ่อเกรอะออกให้หมด แล้วค่อยเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปแทนที่ ทำไมในบ่อเกรอะจึงส่งกลิ่นเหม็น ? ถ้าตอบแบบง่ายๆก็คือ ในบ่อเกรอะนั้นมีจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นมีปริมาณน้อยหรือแทบไม่มีเลย จุลินทรีย์ย่อยสลายและกำจัดกลิ่นที่มีอยู่ในบ่อเกรอะไม่เพียงพอหรือมีปริมาณน้อยมาก นั่นคือ ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะมีมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายที่มีอยู่ในบ่อเกรอะ ของเสียที่หมักหมมอยู่ในบ่อเกรอะส่งผลให้ทั้งการเกิดน้ำเสียมากขึ้นและเกิดปัญหากลิ่นมากขึ้น การแก้ไขปัญหานี้ที่ตรงจุดมากที่สุดก็คือ การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในบ่อเกรอะหรือการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในบ่อเกรอะให้มากพอกับปริมาณของเสียนั่นเอง จึงจะแก้ปัญหาบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นได้และต้องหมั่นเติมอยู่เรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง ตราบใดที่ของเสียยังเกิดขึ้นตลอดเวลาและต่อเนื่องก็ต้องอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายอย่างต่อเนื่องเช่นกัน อาคารบ้านเรือนส่วนใหญ่มักจะต่อท่อน้ำทิ้งจากห้องน้ำ อ่างล้างหน้า อ่างล้างมือ ฟอร์เดรน ลงไปรวมที่บ่อเกรอะจึงทำให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็นในห้องน้ำขึ้นบ่อยๆ ที่ถูกต้องจะต้องแยกบ่อน้ำทิ้งกับบ่อเกรอะเป็นคนละบ่อกันจึงจะทำให้ไม่เกิดปัญหาขึ้น เมื่อกดชักโครกน้ำเสียจากชักโครกก็จะลงไปรวมที่ก้นบ่อส่งผลให้กลิ่นก๊าซต่างๆจากก้นบ่อเกรอะลอยตัวขึ้นมาตามท่อน้ำทิ้งและจุดเชื่อมต่อในแต่ละจุด ควรเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะอยู่เรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดของเสียและกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ ถ้าขาดเสียซึ่งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย และการกำจัดกลิ่น สิ่งที่ติดตามมาก็คือ ของเสียมากขึ้นถูกย่อยสลายน้อยมาก ส่งผลให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็นลอยขึ้นมาจากบ่อเกรอะ นี่คือผลของการขาดจุลินทรีย์ย่อยสลายในบ่อเกรอะ การสูบบ่อเกรอะหรือสูบส้วมบ่อยๆก็ช่วยนำของเสียต่างๆออกจากบ่อเกรอะ โดยเฉพาะตะกรันในบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะจะเป็นตัวชี้วัดว่า บ่อเกรอะนั้นๆมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อยเกินไป ต้องรีบเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ลงไปในบ่อเกรอะทันที เพื่อจัดการในเรื่องกลิ่นและการบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ การดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ต้องไม่ใช่การกลบกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเหมือนกรณีการใช้สารเคมีกลบกลิ่น กลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายบนโลกใบนี้ ส่วนใหญ่มาจากอินทรีย์วัตถุที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ขึ้นมา มีทั้งมาจากธรรมชาติสร้างขึ้นมาและมนุษย์สร้างขึ้น แต่กลิ่นส่วนใหญ่จะมาจากกิจกรรมของมนุษย์สร้างขึ้น ถ้ากลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นๆมีที่มาจากสารอินทรีย์ก็กำจัดด้วยจุลินทรีย์บำบัดกลิ่น แต่ถ้ากลิ่นนั้นมาจากสารเคมีก็ให้ใช้สารเคมีกำจัดกลิ่นนั้นๆ ตามที่มาหรือสาเหตุของกลิ่น กลิ่นที่เกิดขึ้นในบ่อเกรอะมาจากไหน ? น้ำยาดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น กลิ่นเหม็นที่มาจากบ่อเกรอะมาจากของเสียต่างๆที่ไปจากชักโครกหรือคอห่านในห้องน้ำห้องส้วม ทั้งถ่ายหนักและถ่ายเบา เมื่อหมักหมมรวมกันนานเข้าก็จะเกิดกลิ่นขึ้นมา ไม่ต้องมองจากที่ไหนแค่ถ่ายหนักก็มีกลิ่นแล้ว ดังนั้น บ่อเกรอะจึงเป็นศูนย์รวมของเสียต่างๆและศูนย์รวมกลิ่นไม่พึงประสงค์ กลิ่นเหม็นที่เกิดขึ้นเกิดจากการหมักหมมของสารอินทรีย์เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น ในการกำจัดกลิ่นเหม็นเหล่านี้ให้ได้ผลดีจึงต้องพึ่งพาอาศัยจุลินทรีย์ในการบำบัดกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์เหล่านี้ การเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์อีเอ็มลงในบ่อเกรอะจะได้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า 3 อย่าง อย่างแรก จุลินทรีย์ที่เราเติมลงไปในบ่อเกรอะจะไปย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะ เพราะปกติบ่อเกรอะมีปริมาณจุลินทรีย์ในธรรมชาติน้อยอยู่แล้ว ( จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ ) อากาศออกซิเจนก็มีน้อยนิดหรือแทบจะไม่มี ส่วนใหญ่มีแต่ก๊าซไข่เน่าและก๊าซมีเทน อย่างที่สอง ช่วยบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ น้ำเสียจะค่อนข้างวิกฤตมาก เพราะในบ่อเกรอะมีค่า DO น้อยมากๆหรือแทบไม่มีเลย ( ค่า DO คือค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำ ) ดังนั้น กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียจึงไม่ทำงาน เพราะไม่มีออกซิเจนใช้ในการทำปฏิกิริยานั่นเอง ปัญหาจึงติดตามมา นั่นคือ บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นอย่างต่อเนื่องและรุนแรง การที่จะเพิ่มจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนทำได้ค่อยข้างยากในบ่อเกรอะ เพราะมีข้อจำกัดหลายประการ อย่างที่สาม ช่วยดับกลิ่นเน่าเหม็นหรือกำจัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ กลิ่นเน่าเหม็นในบ่อเกรอะส่วนใหญ่มาจากการหมักหมมกันของสารอินทรีย์ และไม่มีจุลินทรีย์เข้าไปย่อยสลายของเสียเหล่านั้นหรือมีจุลินทรีย์ในธรรมชาติย่อยสลาย แต่มีปริมาณน้อยกว่าปริมาณของของเสียที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้จึงทำให้เกิดปัญหากลิ่นขึ้นมานั่นเอง การนำกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มหรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ซึ่งทำหน้าที่ได้เช่นเดียวกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน เพียงแต่กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มจะไม่ใช้ออกซิเจนหรือดึงออกซิเจนในน้ำเสียมาใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย เพราะโดยปกติทั่วไปแล้ว น้ำเสียในบ่อเกรอะก็มีออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นน้อยอยู่แล้วหรือบ่อเกรอะบางแห่งแทบไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียในบ่อเกรอะนั้นเลย จึงส่งผลให้ไม่มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายในบ่อเกรอะหรือมีแต่มีปริมาณน้อยนิด ซึ่งไม่เพียงพอหรือย่อยสลายของเสียไม่ทันกับปริมาณน้ำเสียที่มีมากกว่าในบ่อเกรอะนั้น ดังนั้น ทางออกในการแก้ไขปัญหาจึงหันไปพึ่งพาอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) ซึ่งเราสามารถสังเคราะห์ขึ้นมาได้ง่ายกว่า กำหนดปริมาณได้ง่ายกว่า ในปัจจุบันจึงนิยมนำจุลินทรีย์อีเอ็มมาทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก เพราะจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนนี้ขาดออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายไม่ได้ แต่ความเป็นจริงในปัจจุบัน น้ำเสียมีปริมาณมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์หลายเท่าตัว น้ำเสียรุนแรงมาก ดังนั้นจึงส่งผลให้ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นมีปริมาณน้อยมากหรือแทบไม่มีเลยก็มีให้เห็นบ่อยๆ ซึ่งส่งผลกระทบโดยต่อการเติบโตของจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายในระบบ ออกซิเจนในน้ำเสียในระบบมีน้อยหรือแทบไม่มีเลย จะสัมพันธ์โดยตรงกับปริมาณจุลินทรีย์ให้มีน้อยลงหรือแทบไม่มีเลย ส่งผลให้น้ำเสียนั้นๆเข้าขั้นวิกฤตหนัก โดยเฉพาะน้ำเสียในบ่อเกรอะหรือน้ำเสียจากห้องน้ำห้องส้วมที่มีผู้ใช้จำนวนมากเป็นประจำ การสร้างหรือเพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำได้ค่อนข้างลำบาก ดังนั้น จึงนิยมนำกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียมาทำงานทดแทนกัน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะทำหน้าที่คล้ายๆกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน และสามารถทำงานย่อยสลายร่วมกันได้ในระบบทุกๆระบบบำบัดน้ำเสีย ถ้าในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลย กลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนก็สามารถทำงานได้ทันที ไม่ต้องรอจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนให้เสียเวลาในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ ดังนั้น ในปัจจุบันจึงนิยมนำจุลินทรีย์อีเอ็มมา REBOOT ระบบและ RUN ระบบให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียรวมไปถึงการดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ ถ้าให้ดีที่สุด ควรสูบบ่อเกรอะเอาตะกรันทั้งหมดออกจากบ่อเกรอะก่อน ( กรณีที่ไม่เคยสูบบ่อเกรอะมาก่อนหรือนานๆสูบครั้ง ) แล้วจึงรองพื้นบ่อเกรอะด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่น้อยกว่า 1-2 ลิตร ต่อบ่อเกรอะที่จุน้ำเสีย 1 คิว การเติมจุลินทรีย์จะเติมมากกว่านี้ก็เป็นเรื่องดี เพราะจะทำให้ระบบมีปริมาณจุลินทรีย์เพิ่มขึ้น ควรหมั่นเติมในทุกๆเดือน เพื่อให้ในระบบมีจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียอย่างต่อเนื่อง การสูบส้วมควรสูบ 6 เดือนต่อครั้งหรือมากกว่านี้กรณีที่ส้วมใช้งานหนักมาก มีปริมาณของเสียต่างๆตะกรันจำนวนมาก เมื่อสูบส้วมเสร็จเรียบร้อยแล้วก็รองพื้นบ่อเกรอะด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าที่เตรียมไว้สำหรับ REBOOT และ RUN บ่อเกรอะให้มีประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมากขึ้น นอกจากนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไป RUN และ REBOOT ในบ่อเกรอะแล้ว ยังสามารถนำไป RUN และ REBOOT ในน้ำเสียในบ่อพักน้ำเสียทั่วๆไป ทั้งคอนโดมิเนี่ยม อาคารสำนักงานขนาดใหญ่ ฯลฯ เพราะโดยทั่วๆไปน้ำเสียที่รับมาจากชักโครก กับ น้ำเสียที่รับมาจากท่อน้ำทิ้งต้องแยกบ่อรับน้ำเสียคนละบ่อจึงจะถูกต้อง จะไม่นำมารวมเป็นบ่อเดียวกัน น้ำเสียในบ่อเกรอะจะมีตะกรันของแข็งจำนวนมาก ต้องสูบทิ้งเรื่อยๆ ส่วนบ่อรับน้ำเสียน้ำทิ้งจากท่อระบายน้ำในห้องจะเป็นน้ำที่ใช้ทำความสะอาดร่างกาย มือเท่านั้น ทุกๆบ่อน้ำทิ้งน้ำเสียสามารถนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปใช้รันและรีบูทระบบได้ทันที จะช่วยให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียรวมถึงการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์มีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเกิมหลายเท่าตัว
เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ชนิดเข้มข้นสูง ความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์สูง จุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา ( เพราะมีอาหารเลี้ยงอยู่ตลอดเวลาในภาชนะบรรจุ)เหมาะสำหรับบำบัดน้ำเสีย เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น เติมบ่อเกรอะเหม็น ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น เพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ให้กับบ่อเกรอะและบ่อบำบัดน้ำเสีย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ใช้ได้กับทุกๆระบบบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นจุลินทรีย์ที่เราจัดทำขึ้นตามความต้องการของลูกค้าโดยตรง ซึ่งลูกค้าที่มีปัญหาห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น ส้วมส่งกลิ่นแรง ต้องการจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำที่มีกลิ่นหอม จุลินทรีย์หอมเป็นจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียจากธรรมชาติที่สังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อวัตถุ ประสงค์ดับกลิ่นห้องน้ำ ห้องสุขาหรือห้องส้วม และบำบัดน้ำเสียโดยเฉพาะ โดยทั่วไปจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจะมีกลิ่นฉุนออกเปรี้ยว แต่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเราจะมีกลิ่นหอม เหมาะใช้งานดังต่อไปนี้.- - ดับกลิ่นห้องน้ำในบ้าน โรงแรม คอนโดมิเนี่ยม อพาร์ทเม้นท์ เกสเฮ้าส์ ออฟฟิศ ฯลฯ - ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น, เติมจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะ, บำบัดน้ำเสีย , ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น - ทำความสะอาดห้องน้ำ ทำความสะอาดพื้นห้องน้ำที่มีกลิ่น - บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ ทั้งในโรงงาน บำบัดน้ำเสียในอาคารตึกสำนักงาน สถานประกอบธุรกิจทั่วๆไป - ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยงหรือทำความสะอาดสัตว์เลี้ยง - ดับกลิ่นฟาร์มปศุสัตว์ ( กำจัดกลิ่นมูลสัตว์ทุกชนิด )
ฯ ล ฯ
บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นมาจากสาเหตุใด ? บ่อเกรอะ คือ บ่อรับของเสียจากชักโครกในห้องน้ำหรือส้วม เป็นจุดที่รับสิ่งปฏิกูลของเสียที่เป็นกากตะกอนต่างๆทั้งหมดที่ไปจากชักโครกหรือส้วม ซึ่งของเสียต่างๆจะลงไปรวมกันในบ่อเกรอะทั้งหมด ของเสียส่วนใหญ่จะเป็นสารอินทรีย์ที่ไปจากชักโครกหรือส้วม บ่อเกรอะเป็นจุดที่อับอากาศออกซิเจนหรือมีอากาศออกซิเจนน้อย บรรดาของเสียทั้งหมดในบ่อเกรอะเมื่อหมักหมมเป็นเวลานานๆจะเกิดปัญหาเน่าเสียเกิดขึ้น และติดตามมาด้วยกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะนั่นเอง ของเสียทั้งหมดในบ่อเกรอะจะต้องถูกย่อยสลายและบำบัดโดยจุลินทรีย์ย่อยสลาย กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักไม่สามารถทำงานและดำรงชีพได้ในสภาวะที่ไร้อากาศออกซิเจนหรืออับอากาศ ดังนั้น จึงเกิดปัญหากลิ่นขึ้นมา ของเสียและสิ่งปฏิกูลต่างๆในบ่อเกรอะถูกย่อยสลายได้น้อย ถ้าต้องการไม่ให้เกิดปัญหาดังที่กล่าวมาจึงต้องมีการเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในบ่อเกรอะ เพื่อทำการย่อยสลายของเสียต่างๆและกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นในบ่อเกรอะ ( ตามภาพล่าง )
แนวทางในการแก้ปัญหากลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะ การแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะอาจทำได้หลายช่องทาง ในที่นี้ขอแนะนำวิธีแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะแบบธรรมชาติ คือ การใช้หลักธรรมชาติวิทยาบำบัดโดยตรง เพราะบรรดาของเสียต่างๆที่ทำให้เกิดปัญหากลิ่นไม่พึงประสงค์ขึ้นมา ซึ่งรวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นในบ่อเกรอะด้วยนั้น ส่วนใหญ่มาจากปฏิกิริยาของสารอินทรีย์ ดังนั้น จึงต้องใช้กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและกำจัดกลิ่น ซึ่งจะตรงจุดมากที่สุด ไม่กระทบสิ่งแวดล้อม ในขณะที่ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ลดมลภาวะและมลพิษในสิ่งแวดล้อมโดยตรง และจากที่กล่าวมาแล้วว่าบรรดากลิ่นเน่าเหม็นจากบ่อเกรอะเกิดขึ้นจากปฏิกิริยาสารอินทรีย์ที่หมักหมมอยู่ในบ่อเกรอะเป็นเวลานานๆและถูกกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีโทษทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์เหล่านี้ ( ทำให้เกิดการเน่าเสียขึ้น ) การแก้ไขปัญหาโดยหลักธรรมชาติวิทยาจึงใช้กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆและการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์เข้ามาควบคุมปฏิกิริยาจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษนี้ เพื่อไม่ให้แสดงผลทำให้เกิดของเสียและกลิ่นเน่าเหม็นขึ้น กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและกำจัดกลิ่นก็จะทำปฏิกิริยาแทนที่ เพื่อทำการย่อยสลายของเสียและกำจัดกลิ่นเหม็นที่เกิดขึ้นในบ่อเกรอะ นี่คือ หลักการทางวิทยาศาสตร์เป้นกระบวนการบำบัดโดยธรรมชาติวิทยา ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดตามหลักธรรมชาติวิทยา ในการกำจัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะต้องใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดหรือบำบัดกลิ่น ซึ่งจะมีกลุ่มจุลินทรีย์บางกลุ่มเท่านั้นที่มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียและการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นต่างๆได้ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักไม่มีคุณสมบัติในการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น จึงเกิดปัญหากลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะขึ้นนั่นเอง ดังนั้น จึงควรหมั่นเติมกลุ่มจุลินทรีย์กำจัดกลิ่นอยู่เป็นประจำจึงจะไม่เกิดปัญหากลิ่นเน่าเหม็นในบ่อเกรอะ วิธีการแก้ปัญหากำจัดกลิ่นเหม็นบ่อเกรอะด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและการกำจัดกลิ่นโดยเฉพาะ ไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ดังนั้น ถึงแม้ในบ่อเกรอะไม่มีออกซิเจนใดๆเลย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำงานย่อยสลายของเสียและกำจัดกลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะได้ตามปกติ ซึ่งจะแตกต่างจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนที่ไม่มีคุณสมบัติในข้อนี้ ( คุณสมบัติกำจัดกลิ่น ) จึงเป็นจุดเด่นในการบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ที่กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนไม่สามารถทำได้ จึงเหมาะกับการเติมบ่อเกรอะเป็นประจำ เพื่อกำจัดกลิ่นและย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะ เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียรวมถึงการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆได้ดี เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ชนิดไม่ใช้อากาศออกซิเจนในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Anaerobic Bacteria ) จึงเหมาะสำหรับบำบัดน้ำเสียและเติมบ่อเกรอะที่น้ำเสียนั้นๆมีปริมาณออกซิเจนน้อย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นจุลินทรีย์ที่มีความเข้มข้นสูงและมีกลิ่นหอม ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและการดำรงชีพ ดังนั้น จึงเป็นจุลินทรีย์เติมบ่อเกรอะแบบได้ประโยชน์หลายอย่างในเวลาเดียวกัน เติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าในแต่ละครั้งได้ประโยชน์อย่างน้อยที่สุด 3 อย่างดังนี้ 1. การย่อยสลายของเสียและสิ่งปฏิกูลต่างๆในบ่อเกรอะ ( ทำหน้าที่แทนกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ) จุลินทรีย์หอมคาซาม่าทำงายย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะโดยไ่ม่ใช้ออกซิเจนใดๆ เหมือนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก 2. การบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ เป็นการทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน 3. การดับกลิ่นเหม็นหรือกำจัดกลิ่นเหม็นต่างๆในบ่อเกรอะ อีกทั้งยังช่วยลดมลพิษและมลภาวะให้กับสิ่งแวดล้อมโลกโดยตรง ไม่มีผลกระทบใดๆต่อระบบบำบัดน้ำเสียและกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเกรอะหรือระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ
แอดไลน์ร้านค้า กรุณากดที่เพิ่มเพื่อนด้านบนนี้ แล้วสามารถสั่งซื้อจุลินทรีย์ทางไลน์ได้ทันที จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้ จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ คลิกดูที่นี่.. การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่.. มีปัญหาบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะเหม็น บ่อเกรอะเต็มง่าย ( ส้วมเต็มง่าย ) ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ซึ่งเป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์ดับกลิ่นเน่าเหม็น เราเน้นความเข้มข้นสูง ไม่มีเก่าเก็บ ดับกลิ่นเน่าเหม็นได้รวดเร็ว ประการสำคัญคือ กลิ่นหอมทันทีที่นำไปใช้ดับกลิ่นห้องน้ำ หรือดับกลิ่นบ่อเกรอะ ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็น หรือฟาร์มปศุสัตว์อย่างฟาร์มสุกรที่ส่งกลิ่นเหม็นของมูลสุกร
|